1 / 57

บทที่ 5 ระบบควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญและ ศาลรัฐธรรมนูญไทย

บทที่ 5 ระบบควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญและ ศาลรัฐธรรมนูญไทย. ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ ๑.๑ องค์กรที่ควบคุม ๑.๒ ระยะเวลาที่ควบคุม . ๑.๑ องค์กรที่ควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ - รัฐสภา : ระบบฝรั่งเศส , รัฐธรรมนูญ ฯ 2475 มาตรา 61 , 62

pete
Download Presentation

บทที่ 5 ระบบควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญและ ศาลรัฐธรรมนูญไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 ระบบควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญและ ศาลรัฐธรรมนูญไทย • ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ • ๑.๑ องค์กรที่ควบคุม • ๑.๒ ระยะเวลาที่ควบคุม 2552

  2. ๑.๑ องค์กรที่ควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ - รัฐสภา: ระบบฝรั่งเศส , รัฐธรรมนูญ ฯ 2475 มาตรา 61 , 62 - ศาลยุติธรรม: คดี Marbury V. Madison (1803) - องค์กรพิเศษ: ตุลาการรัฐธรรมนูญ หรือ ศาลรัฐธรรมนูญ Hans Kelsen ศาลรัฐธรรมนูญออสเตรีย 1955 ตุลาการรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส 1958 2552

  3. ๑.๒ ระยะเวลาที่ควบคุม - ระบบควบคุมหลังกฎหมายประกาศใช้ รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา เยอรมัน ไทย ( ม. 211) - ระบบควบคุมก่อนประกาศใช้กฎหมาย รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส 1958 รัฐธรรมนูญไทย ม. 141 และ 154 2552

  4. ๒. ความเป็นมาของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัด รัฐธรรมนูญในประเทศไทย ๒.๑. สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้มีอำนาจ 2475 คำพิพากษา คดีอาชญากรสงคราม 1/2489 ๒.๒. รัฐสภา + คณะตุลาการ ม. 86 รัฐธรรมนูญ 2489 ม. 88 รัฐธรรมนูญ 2490 ม. 94 2552

  5. รัฐธรรมนูญ 2492 ม. 177 ตีความปัญหาอันอยู่ในวงงานของสภา รธน. 2495 ม.112 ม.114 รธน. 2511 ม. 173 ม. 175 รธน. 2521 ๒.๓. คณะตุลาการรัฐธรรมนูญมีอำนาจตีความแต่ผู้เดียว รธน. 2534 ๒.๔ ศาลรัฐธรรมนูญตาม รธน. 2540 2552

  6. ปัญหาของ “คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ” ๑. องค์ประกอบ - มีลักษณะคล้ายองค์กรการเมือง - มีปัญหาเรื่องอิสระ ๒. การแต่งตั้ง/สรรหา - ขึ้นอยู่กับการเมือง ๓. วาระการดำรงตำแหน่ง - สั้น/ขึ้นกับการเมือง ๔. อิสระ - วาระสั้น ตั้งใหม่ได้ ๕. การทำงานเป็นคณะกรรมการ 2552

  7. ๒.๕. หากไม่มีองค์กรใด ตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ ศาลยุติธรรมก็มีอำนาจ - บรรทัดฐานคดีอาชญากรสงครามที่ 1, 2 , 4 /2489 - ฎ. 21/2492 พ.ร.บ. ควบคุมค่าเช่าฯ 2490 ที่ใช้บังคับย้อนหลังไม่ขัด รัฐธรรมนูญ เพราะ รธน. ไม่มีบทบัญญัติห้ามการใช้ กม. แพ่งย้อนหลัง - ฎ. 222/2494 ฎ. 1212/2497 ฎ. 1460/2497 2552

  8. ฎ. 776/2505 ฎ. 222/2506 ฎ. 225/2506 ฎ. 562/2508 ฎ. 1602-1603/ 2509 ฎ. 17812513 ฎ. 1240/2514 และ ฎ. 912/2536 ฎ. 913/2536 ฎ. 921/2536 ฎ. 1131/2536 ฎ. 1132-1136/2536 2552

  9. 3. ลักษณะของศาลรัฐธรรมนูญ มีลักษณะเป็นศาล 3.1 ต้องมีปัญหาหรือข้อโต้แย้งเกิดขึ้นแล้วจริง คำวินิจฉัยที่ 6/2549 การที่ กกต. ส่งปัญหามาให้ วินิจฉัย 3 ประเด็น ยังไม่เป็นปัญหา เพราะ กกต. ยังไม่ได้ใช้อำนาจ และเป็นการคาดการณ์ และหารือมา ไม่ใช่ปัญหาที่เกิดขึ้นจริง 2552

  10. คำวินิจฉัยที่ 60 /2548 คตง.ขอให้วินิจฉัยว่าการสรรหาผู้ว่าตรวจเงินแผ่นดินใหม่ชอบหรือไม่ นั้น คตง. ได้ดำเนินการไปตามอำนาจหน้าที่แล้ว แม้มีการได้แย้งจาก คุณหญิงจารุวรรณ และองค์กรภายนอก ก็ไม่ได้เป็นการโต้แย้งขององค์กรตามรัฐธรรมนูญที่เป็นปัญหาต่อการดำเนินการสรรหาที่เสร็จไปแล้ว 2552

  11. คำวินิจฉัยที่ 44 /2547 การที่คณะกรรมการสรรหา ปปช.มีมติเกี่ยวกับคุณสมบัติผู้รับการสรรหาซึ่งมีตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเท่าไปแล้ว และวุฒิสภาก็มีมติเลือกไปแล้ว ก็ไม่เป็นปัญหาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของ องค์กรตามรัฐธรรมนูญอีก แม้สมาชิกวุฒิสภา 54 คนจะเห็นต่างไปก็ตาม จึงไม่ต้องด้วย มาตรา 266 แต่... 2552

  12. คำวินิจฉัยที่ 47 /2547 ศาลรัฐธรรมนูญรับวินิจฉัยกระบวนการได้มาซึ่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งดำเนินการเสร็จไปแล้ว แต่มีสมาชิกวุฒิสภาขอให้ประธานรัฐสภาส่งเรื่องไปให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ากระบวนการ ไม่ชอบ ว่าเป็นปัญหา ซึ่งก็น่าจะถือว่า ว.47/2547 กลับแนวทาง ว.44/2547 แล้ว 2552

  13. คำวินิจฉัยที่เห็นว่ายังไม่เป็นปัญหา ว.6/2549(กกต. หารือการเลือกตั้ง 2 เม.ย. 45 ) ว. 60/2548(กรณี คตง. หารือ เรื่องการสรรหาผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินใหม่) ว. 44/2547(กรณี คุณสมบัติผู้รับการสรรหาเป็น ปปช.) ว. 63/2547 (กรณี ปปช.ออกระเบียบจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ ) ว. 33/2546 (กรณี ปปช. สงสัยว่ามีอำนาจเปิดเผยบัญชีทรัพย์สินของ กทช หรือไม่) 2552

  14. คำวินิจฉัยที่เห็นว่ายังไม่เป็นปัญหา (ต่อ) ว.43/2546 ( กรณี สว.จำนวนหนึ่งเห็นว่าญัตติตั้งกรรมา ธิการ 21 คณะในสมัยประชุมนิติบัญญัติไม่ชอบ) ว.63/2543 (กรณี ปปช. ขอให้วินิจฉัยร่าง พรบ.และ การกระทำ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง) ว.7/2542 (กรณี กกต.ขอให้วินิจฉัยสิทธิเลือกตั้งนอกเขตหาผู้มีสิทธิ) ว.8/2542 (กกต.ขอให้วินิจฉัยคุณสมบัติ สส. , สว. ตามมาตรา 315 วรรคสี่) 2552

  15. 3.2. มีการนำเสนอคดีต่อศาลโดยผู้มีอำนาจ - ระบบให้องค์กรในรัฐธรรมนูญ กลั่นกรองก่อน ม. 211, ม. 141 , 154 ม. 245 (1) , ม. 257 (2) เดิมตามรัฐธรรมนูญไทยปี 2540บุคคลไม่มีสิทธิยื่นเรื่องตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญดู ว.5/2541 มาตรา 264 ไม่ได้ให้สิทธิคู่ความส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย 2552

  16. ตามรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 212 บุคคลยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ โดยตรงได้ • เงื่อนไข • ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรอง • กฎหมายเป็นที่มาของการละเมิด • ไม่อาจใช้สิทธิโดยวิธีการอื่นๆได้ 2552

  17. ไม่อาจใช้สิทธิโดยวิธีการอื่นได้ หมายถึง ถ้ามีช่องทางอื่น เช่น ศาล (ม. 211) ผู้ตรวจการแผ่นดิน (ม.245 (1) ) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ม.257 (2) ) ก็ต้องใช้ก่อน 2552

  18. หรือใช้สิทธิแล้วแต่ไม่สมดังสิทธิ เช่น ศาลยกฟ้องเพราะคดีขาดอายุความ ผู้ตรวจการไม่รับเรื่อง หรือ คกก.สิทธิมนุษยชน ไม่รับเรื่อง 2552

  19. 3.3 มีวิธีพิจารณาของศาลตามมาตรฐาน ม. 216 • การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย • การให้สิทธิตรวจเอกสาร • การรับฟังคู่กรณีทุกฝ่าย • การคัดค้านตุลาการ • การให้เหตุผลประกอบคำวินิจฉัย • การพิจารณาไม่เกินคำขอ • ทั้งนี้ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ 2552

  20. 3.4 คำวินิจฉัยมีผลบังคับ คำพิพากษาศาลอื่นมีผลระหว่างคู่ความ (inter partes) คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญมีผลทั่วไป (erga omnes) คำวินิจฉัยมีผลนับแต่วันที่มีคำวินิจฉัย ไม่ย้อนหลัง เหมือนคำพิพากษาศาลฎีกา แต่มีข้อยกเว้น ม. 185 วรรคสาม 2552

  21. 3.5 มีความเป็นอิสระ • วาระการดำรงตำแหน่ง ม. 208 , 209 • ลักษณะต้องห้าม ม. 205 , 207 • เงินเดือน ม. 202 • หน่วยธุรการ ม.217 • มีองค์คณะ /ม. 216 • การทำคำวินิจฉัยส่วนตน 2552

  22. 3.6 เป็นศาลที่มีเขตอำนาจเฉพาะ ศาลหลัก คือ ศาลยุติธรรม ม.218 ศาลปกครองพิจารณาว่า กฎ , คำสั่งทางปกครอง หรือการกระทำขัดรัฐธรรมนูญ ม.223 2552

  23. 4. องค์ประกอบ 4.1 องค์ประกอบตามรัฐธรรมนูญ 2540 : 15 คน 5 คน จากศาลฎีกา 2 คน จากศาลปกครองสูงสุด 5 คน จากผู้ทรงคุณวุฒิทางนิติศาสตร์ 3 คน จากผู้ทรงคุณวุฒิทางรัฐศาสตร์ * คำวินิจฉัยตุลาการ รธน.ทำหน้าที่ศาล รธน. 1/2541 2552

  24. 4.2องค์ประกอบตามรัฐธรรมนูญปัจจุบัน : 9 คน - ผู้พิพากษาศาลฎีกา 3 คน - ตุลาการศาลปกครองสูงสุด 2 คน (ถ้าไม่มีเลือกผู้มีความรู้เชี่ยวชาญทางนิติศาสตร์แทนได้) - ผู้ทรงคุณวุฒิทางนิติศาสตร์ 2 คน - ผู้ทรงคุณวุฒิทางรัฐศาสตร์ 2 คน (คณะกรรมการสรรหา 5 คน วุฒิสภาเห็นชอบ) 2552

  25. 5. เขตอำนาจ ผู้รักษาความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ 5.1 อำนาจควบคุมร่างกฎหมายมิให้ขัด รธน. 5.1.1. ร่าง กม. ม. 141,154 5.1.2. บท กม. ม. 211 ม. 245 (1) , 257 (2) 5.1.3 พระราชกำหนด ม. 185 ข้อยกเว้นข้อบังคับการประชุม ม. 155 ระเบียบองค์กรตาม รธน. ว.24/2543 อาจขึ้นศาลปกครองตาม ม.223 2552

  26. 5.2. วินิจฉัยข้อขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ขององค์กรตาม รธน. 5.2.1. ม. 214 5.2.2. หลักการแห่งร่าง พ.ร.บ. ม.149 ว.2 5.2.3. การแปรญัตติของสมาชิก/กรรมาธิการ ม.168 ว.7 5.2.4 การวินิจฉัยสนธิสัญญาตาม ม.190 5.3. ควบคุมพรรคการเมือง 5.3.1. มติ/ข้อบังคับพรรค ม. 65 ว.3,106(7), พ.ร.บ. ป. ม. 33 5.3.2. การอุทธรณ์คำสั่งไม่รับจดทะเบียนพรรค พ.ร.บ. ป. ม. 12 5.3.3. หัวหน้ากรรมการบริหารฝ่าฝืนนโยบายข้อบังคับ ม.31 ว. 2 5.3.4. การสิ้นสภาพ การยุบพรรค พ.ร.บ. ป. ม.91, 93- 95 2552

  27. 5.4. ควบคุมคุณสมบัติ/ลักษณะต้องห้ามของบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรตาม รธน. 5.4.1 ส.ส./ส.ว. ม. 91, 92 5.4.2. รมต. ม. 182 5.4.3. ก.ก.ต. ม. 233 5.5. พิทักษ์รัฐธรรมนูญจากการเปลี่ยนแปลงนอกวิถี รธน. ม. 68, ม.237 5.6. อำนาจหน้าที่อื่นตามบทเฉพาะกาล ม. 300 2552

  28. บทที่ 6 การควบคุมร่างกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ ที่มา:รธน. ฝรั่งเศส ม. 61 ว. 2 ซึ่งให้ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี, ประธานสภาใดสภาหนึ่ง ส.ส. หรือ ส.ว. 60 คน ส่งเรื่องได้ รธน. 2517 ม.224 2552

  29. สิ่งที่อยู่ในข่ายถูกควบคุมสิ่งที่อยู่ในข่ายถูกควบคุม • - ร่าง พ.ร.บ. ประกอบ รธน. (ม.141) (โดยบทบังคับใน รธน.) • - ร่าง พ.ร.บ. (ม. 154) • - ร่างข้อบังคับสภาผู้แทนราษฎร • - ร่างข้อบังคับวุฒิสภา • - ร่างข้อบังคับรัฐสภา • ผู้มีสิทธิเสนอ • - นายกรัฐมนตรี • - ส.ส. ส.ว. หรือ ส.ส.+ ส.ว. 1/10 (48 คน) กรณีร่าง พ.ร.บ. / ข้อบังคับ 2552

  30. ค. ระยะเวลาที่จะเสนอ รัฐสภาเห็นชอบแล้ว ก่อนนำขึ้นทูลเกล้าฯ (ม. 150) หรือรัฐสภาลงมติยืนยัน (ม. 151) ก่อนที่นำขึ้นทูลเกล้าฯ อีกครั้งหนึ่ง หรือก่อนประกาศข้อบังคับ ง. เหตุแห่งการควบคุม ๑. - ร่างฯ มี “ข้อความขัด รธน. นี้” ๒. - ร่างฯ ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ 2552

  31. ผล 1. ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตกทั้งฉบับว. 13-14/2541 แต่ดู ว. 3/2542 และ 50/2542 2. ข้อความขัดหรือแย้ง 2.1 ถ้าข้อความไม่เป็นสาระสำคัญข้อความนั้นตกไป 2.2 ถ้าข้อความเป็นสาระสำคัญร่างฯตกไปทั้งฉบับ 2552

  32. มีกรณีการวินิจฉัย ร่าง พ.ร.บ. ป.4 เรื่อง ร่าง พ.ร.บ. 7 เรื่อง ข้อบังคับ ยังไม่มี กรณีร่างพระราชบัญญัติประกอบ รธน. ว. 37/2542(ร่าง พ.ร.บ. ผู้ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา ไม่ขัด) ว. 54-55/2543(ร่าง พ.ร.บ. ป. ว่าด้วยการเลือกตั้ง ไม่ขัด) ว. 56/2543(ร่าง พ.ร.บ. ว่าด้วยการเลือกตั้ง ไม่ขัด) 2552

  33. กรณีร่าง พ.ร.บ. ว. 48/2542(ร่าง พ.ร.บ. ควบคุมยาง ไม่ขัด) ว. 50/2542(ร่าง พ.ร.บ. ทุนรัฐวิสาหกิจ ไม่ขัด) ว. 21/2543(ร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม ไม่ขัด) ว. 22/2543(ร่าง พ.ร.บ. จัดการหุ้นส่วนของ รมต. ไม่ขัด) 2552

  34. บทที่ 7 การควบคุมกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่มิให้ขัด รธน. การควบคุมมี 2 ประเภท ๑. การควบคุมเป็นรูปธรรม (Control in concreto) ๒. การควบคุมเป็นนามธรรม (Control in abstrato) 2552

  35. 1. การควบคุมเป็นรูปธรรม ม. 211 ศาลจะใช้ ก.ม. บังคับคดี 1.1. ในการที่ศาลจะใช้บทบัญญัติแห่งกฎหมายบังคับแก่คดีใด 1.1.1. ศาลใดก็ได้ไม่ว่าจะเป็นศาลยุติธรรม ศาลปกครอง หรือศาลทหาร องค์กรอื่น เช่น ปปช.กกต. ส่งไม่ได้ต้องใช้ ม. 214 หรือวินิจฉัยเสียเอง 1.1.2 ศาลจะใช้ ก.ม. บังคับแก่คดีนั้น ถ้าศาลไม่ใช้ ก.ม. นั้น ก็ไม่ต้องส่ง หรือแม้คู่ความโต้แย้งแต่ไม่เกี่ยวกับประเด็น ข้อพิพาทก็ไม่ต้องส่ง คำสั่งคำร้องศาลฎีกาที่ 1224/2542 ฎ. 270/2543 แต่ดู ว. 3/2544 2552

  36. 1.1.3. คดีนั้นยังดำเนินอยู่และยังไม่ถึงที่สุด ในชั้นบังคับคดีก็ส่งได้ ว.34-53/2543 ถ้าคดีถึงที่สุดแล้วศาลไม่ต้องส่ง คำสั่งคำร้องที่1201/2542 ฎ. 1004/2542 ฎ. 623/2543 2552

  37. 1.2. ศาลเห็นเอง หรือคู่ความโต้แย้ง ศาลต้องส่งแม้ศาลเห็นว่าไม่ขัดก็ตาม ศาลรัฐธรรมนูญจะไม่รับก็ได้ ว.8/2541 1.3. บทบัญญัติกฎหมายนั้นต้องด้วยบทบัญญัติ ม. 6 1.3.1. บทบัญญัติกฎหมายแห่งกฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชกำหนด ไม่รวม “กฎ ข้อบังคับ” ที่ไม่ได้ออกโดยองค์กรนิติบัญญัติ 2552

  38. สิ่งที่ส่งไม่ได้ เช่น ประกาศ ธปท.(ว. 4/2542, 5/2542, 9/2542, 10/2542, 12-35/2542, 38-40/2542, 41/2542, 42-43/2542 ประกาศกระทรวงการคลัง ว. 9-10/2544 ประกาศธนาคารพาณิชย์ หรือเงินทุนหลักทรัพย์ ว. 5/2542 ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทย ว. 1/2543 คำสั่ง นรม. และจังหวัด ว. 14-15/2543 ระเบียบ กกต. ว. 25/2543 คำพิพากษาศาลขัด รธน. ก็ส่งไม่ได้ ว. 11/2541 คำสั่งคำร้องที่ 511-512/2541 คำสั่งคำร้องที่ 909/2541 คำสั่งคำร้องที่ 1111/2542 ฎ. 3699-3739/2541 ฎ. 950/2542 2552

  39. ฎ. 1442/2543 การกระทำของพนักงานสอบสวนขัด รธน. ฎ. 3502/2542 กฎหมายขัดต่อกฎหมาย ว.16/2544 การกระทำบุคคลขัด รธน. ว. 9/2543 การขอให้ศาล รธน. ตีความเฉยๆ ทำไม่ได้ ว. 8/2543 2552

  40. การที่ศาลจะตีความ รธน. โดยไม่มีปัญหาว่ากฎหมายขัด รธน. เลย ศาลตีความเองได้ คำสั่งคำร้อง ฎ. 695/41 คำสั่งคำร้อง ฎ. 696/41 ปัญหา ประกาศของคณะปฏิวัติ ประกาศของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ประกาศคณะ รสช. ดู ม. 335(1) 2552

  41. 1.3.2. ต้องด้วยบทบัญญัติมาตรา 6 - บทบัญญัติแห่ง ก.ม. ขัดหรือแย้งต่อรธน. นี้ไม่ใช่การตรา หรือ กระบวนการ (เทียบ ม.141 ม.154) - “ รัฐธรรมนูญนี้” หมายถึง 1.) ไม่ใช่ รัฐธรรมนูญฉบับก่อน เทียบ ฎ. 766/2505 ฎ. 913/2536 2.) รัฐธรรมนูญนี้ หมายรวมทั้ง 2.1.) บทบัญญัติของ รธน. 2552

  42. 2.2.) ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย ม. 7 “ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” หมายถึง “หลัก รธน. ทั่วไป”(General principles of constitution law) ๑. บทบัญญัติรัฐธรรมนูญหลายฉบับ ๒. บทบัญญัติที่สะท้อนอยู่หลายมาตราใน รธน. ๓. พระราชอำนาจดั้งเดิมในระบอบประชาธิปไตย ว. 6/2543 ฎ. 562/2508, 1602-1603/2509 ฎ. 913/2536 ฯลฯ 2552

  43. 1.4. ยังไม่มีคำวินิจฉัยของศาลรธน. ในส่วนที่เกี่ยวกับบทบัญญัตินั้น คำวินิจฉัยศาล รธน. มีผลผูกพันองค์กรทั้งหลาย และศาล รธน. ด้วย (ม. 216) ถ้าวินิจฉัยว่า ก.ม. ขัด รธน. ว. 38-40/2542 ว. 12-35/2542 ว. 41/2542 ว. 42-43/2542 ว. 15/2544 ฎ. 1004/2542 ปัญหา ถ้ามีคำวินิจฉัยคณะตุลาการ รธน. หรือศาลยุติธรรม 2552

  44. คำวินิจฉัยส่วนใหญ่ ก.ม. ไม่ขัด รธน. ว. 9/2541 พ.ร.บ. สุขาภิบาล 2495 ม.7 พ.ร.บ. การเลือกตั้ง ส.ท. 2482 ม.2 ว. 12/2541 พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 2539 ม. 5 ว. 16/2541 ปวิอ. ม. 220 ว. 5/2542 พ.ร.บ. ดอกเบี้ยให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน (ฉ. ที่ 3) 2535 ว. 44/2542 พ.ร.บ. สุขาภิบาล 2495 ม. 10(4) ว. 1/2543 ปวิอ. ม. 120 ว. 2/2543 ปวิอ. ม. 120 2552

  45. ว. 7/2543 พ.ร.บ. ธนาคารพาณิชย์ 2505 ว. 34-35/2543 ปวิพ.ม. 286 วรรคหนึ่ง(1) ว. 9-10/2544 พรน. แก้ไขเพิ่มเติม พรบ. ธนาคารพาณิชย์ 2541 ว. 11/2544 พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ 2522 ม.5 วรรคสอง ว. 14/2544 พ.ร.บ. ล้มละลาย 2483 ว. 16/2544 พรน. แก้ไขเพิ่มเติม พรบ. การประกอบธุรกิจเงินทุนฯ 2540 ม. 67 ตรี, 67 ฉ. และ พรน. แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. ธนาคารพาณิชย์ 2541 ม. 38 ตรี, 38 สัตต 2552

  46. 1.5. ให้ศาลรอการพิจาณาพิพากษาคดีไว้ชั่วคราว 1.6. ศาล รธน. จะไม่รับเรื่องดังกล่าวไว้พิจารณาก็ได้ ว. 8/2541 2. การควบคุมที่เป็นนามธรรมโดยผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นผู้เสนอ ตาม ม. 245, พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญ 2.1. บทบัญญัติ ก.ม. มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วย รธน. ให้ส่งเรื่องพร้อมความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อพิจารณา(รวมพระราชกำหนดด้วย) ว. 24/2543 ว. 12/2544 2.2. กฎ ข้อบังคับ หรือการกระทำของบุคคลใดตาม ม. 245(2) มีปัญหาความชอบด้วย รธน. ให้เสนอเรื่องต่อศาลปกครอง 2552

  47. ดู ม. 3, ม. 43 ของ พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ 2542 “ในกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินฯ เห็นว่ากฎ หรือ การกระทำใดของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ให้มีสิทธิเสนอเรื่องพร้อมความเห็นต่อศาลปกครองได้ ในการเสนอความเห็นดังกล่าว ผู้ตรวจการฯ มีสิทธิและหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีตาม ม.42” คือต้องดำเนินการเยียวยาตามขั้นตอนให้ครบถ้วนก่อน ปัญหา ถ้ามีการฟ้องคดีตาม ม. 24(2) ผู้ตรวจการฯ จะส่งเรื่องได้หรือไม่ 2552

  48. 3. การควบคุมที่เป็นนามธรรมตาม ม. 185 ของการตรา พ.ร.ก. - ก่อนสภาอนุมัติ - ส.ส./ส.ว. ไม่น้อยกว่า 1/5 เข้าชื่อกันเสนอต่อประธาน - พระราชกำหนดไม่เป็นไปตาม ม. 184 วรรค 1 การรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงของประเทศ ป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ วรรค 2 การขอพิจารณาความฉุกเฉิน หรือจำเป็นรีบด่วนจะทำมิได้ 2552

  49. - ถ้าไม่ชอบด้วย ม. 185 ว. 3 พระราชกำหนดนั้น ไม่มีผลบังคับมาแต่ต้น คืนลาภมิควรได้ อาจต้องรับผิดตามลักษณะละเมิดทางปกครอง ว. 1/2541 2552

  50. กรณีต่างจากการขอให้วินิจฉัยว่า พรบ. มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ต้องใช้ ม. 211 ดู ว. 16/2544, ว. 9-10/2544 ม. 245 2552

More Related