330 likes | 494 Views
การขับเคลื่อน “แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)”. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อุบัติใหม่ โฆษกกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (ประธานชมรมพัฒนาระบาดวิทยาแห่งประเทศไทย). โรคติดต่ออุบัติใหม่.
E N D
การขับเคลื่อน “แผนยุทธศาสตร์ เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)” • นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ • ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อุบัติใหม่ • โฆษกกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข • (ประธานชมรมพัฒนาระบาดวิทยาแห่งประเทศไทย)
โรคติดต่ออุบัติใหม่ นิยามองค์การอนามัยโลก หมายถึง โรคติดเชื้อชนิดใหม่ๆ ที่มีรายงานผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา • โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) เช่น โรคซาร์ส ไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โคโรน่าไวรัส • โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) เช่น โรคเวสต์ไนล์ไวรัส • โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) คือ โรคติดต่อที่เคยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไปนานแล้ว แต่กลับมาระบาดอีก เช่น โรคคอตีบ • เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organisms) เช่น แบคทีเรีย • อาวุธชีวภาพ(Deliberate use of bio-weapons) เช่น แอนแทรกซ์ ฯลฯ
โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่พบหรือมีความเสี่ยงของประเทศไทยโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่พบหรือมีความเสี่ยงของประเทศไทย โรคอุบัติใหม่วันนี้ คือโรคประจำถิ่นในวันหน้า ...ถ้าควบคุมไม่ได้
ASEAN: Association of Southeast Asian Nations 10 member countries 570 million population 4.5 million km2
ผลกระทบจากการเปิดการค้าการลงทุนอย่างเสรีผลกระทบจากการเปิดการค้าการลงทุนอย่างเสรี แรงงานข้ามชาติเข้ามามากขึ้น มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีของกลุ่มประชากรมนุษย์ สัตว์ พืช อาหาร และสินค้า
ตัวอย่างปัญหาด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น • การแพร่ระบาดมากขึ้นของโรคติดต่อ เช่น เอดส์ วัณโรค มาลาเรีย เท้าช้าง ไข้เลือดออก อหิวาต์ • เกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคที่ ถูกกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทยแล้ว เช่น คอตีบ กาฬโรค โปลิโอ รวมทั้ง ปัญหาเชื้อดื้อยา ฯลฯ • การป้องกัน ควบคุมโรคมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น
ตัวอย่างปัญหาหลักด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นตัวอย่างปัญหาหลักด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น อาหาร/ผลิตภัณฑ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพเข้าสู่ไทยมากขึ้น เช่น น้ำมันปาล์ม บุหรี่ สุรา ทำให้เกิดโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น การลักลอบนำเข้าสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ต้องห้าม เช่น ผ้าเบรกที่ใช้สารแอสเบสตอสเป็นส่วนประกอบ มีโอกาสนำเข้าสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เช่น หมวกนิรภัย รถจักรยานยนต์ มีผลต่อการบาดเจ็บ
ความเสี่ยงการเกิดการระบาดโรคติดต่ออุบัติใหม่ในประเทศไทยความเสี่ยงการเกิดการระบาดโรคติดต่ออุบัติใหม่ในประเทศไทย • พบการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ • โรคติดต่ออุบัติซ้ำ รวมถึง เหตุจงใจ • หรืออุบัติเหตุ ในหลายพื้นที่ทั่วโลก • การเดินทางที่สะดวก สามารถเดินทาง • ภายใน ๒๔-๗๒ ชั่วโมง จากทุกแห่งหน • ได้ถึงกันทั่วโลก • ความแตกต่างของกาย เช่น ภูมิไวรับ • ความแตกต่างทางมิติสังคม สิ่งแวดล้อม • วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ประเทศ ภูมิภาค
ผลกระทบจากการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ผลกระทบจากการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ • ไม่เพียงแต่ “ผลกระทบด้านสุขภาพ” เท่านั้น ? • ผลกระทบทางเศรษฐกิจ • การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคลดลง • ผลกระทบต่อการส่งออก • รายได้จากการท่องเที่ยว • ผลกระทบทางสังคม • ประชาชนหยุดงาน เนื่องจากการป่วย • โรงเรียนและธุรกิจต่างๆ อาจต้องหยุดกิจการชั่วคราว • เกิดการขาดแคลนอาหารและเครื่องอุปโภคบริโภค • ผลกระทบความมั่นคงของประเทศ
แนวคิดความร่วมมือสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) • > 75% ของโรคติดต่ออุบัติใหม่มีความสัมพันธ์กับสัตว์ • การระบาดมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม • การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค • ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน • บทเรียนจากการป้องกันควบคุมโรค • สุขภาพหนึ่งเดียว • การมีเป้าหมายร่วมกัน (Purposes) + • การมีหลักการร่วมกัน (Principles) + • การมีส่วนร่วมและร่วมมือ (Participate) • = แผนยุทธศาสตร์ฯ (Plan)
การเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่การเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่
สถานการณ์ล่าสุด การระบาดโคโรน่าไวรัส สายพันธุ์ใหม่ 2012 และการเตรียมความพร้อมรับมือของประเทศไทย
จอร์แดน การ์ตาร์ ซาร์อุดิอาราเบีย ข้อมูลองค์การอนามัยโลกพบผู้ป่วยจาก 3 ประเทศ มีรายงานอย่างน้อย 9 ราย ยืนยันเสียชีวิต 5 ราย
รายงานผู้ป่วยยืนยัน 9 ราย เสียชีวิต 5 ราย ใน 3 ประเทศ (กาตาร์ ซาอุฯ จอร์แดน) • ผู้ป่วยชาวกาตาร์ 2 ราย (ชาย) • อาการปอดบวม ไตวาย อาการดีขึ้น • ไม่มีความสัมพันธ์ทางระบาดวิทยา ไม่มีประวัติการเดินทาง • ผู้ป่วยชาวซาอุดิอาราเบีย 5 ราย • ผู้ป่วย 2 ราย แรก (เสียชีวิต 1 ราย) ไม่มีความสัมพันธ์ทางระบาดวิทยา • ผู้ป่วย 3 ราย หลัง เป็นครอบครัวเดียวกัน อาศัยในบ้านเดียวกัน • (เสียชีวิต 2 ราย) • ผู้ป่วยชาวจอร์แดน 2 ราย เสียชีวิตทั้ง 2 ราย • ตรวจจากตัวอย่างผู้ป่วยปอดบวมย้อนกลับ เมื่อเดือนเมษายน 2555
เวลาผ่านมานานมากแต่ข้อมูลไม่ชัดเจน เวลาผ่านมานานมากแต่ข้อมูลไม่ชัดเจน • มีการป่วยในบุคลากรทางการแพทย์ • ไม่ประมาท เตรียมความพร้อม
เริ่มระบาดที่จีน แพทย์ติดเชื้อจากวางตุ้ง กุมภาพันธ์ 2546
Novel Corona control strategies • เร่ง...วินิจฉัย / ค้นหา • รีบ...ดูแล ในห้องแยกโรค • เร่ง...รายงาน สสจ. สคร. ส.ระบาดวิทยา • รีบ...สอบสวน ค้นหาผู้ป่วย ผู้สัมผัส • เร่ง...ป้องกัน ควบคุม (แยกตัว - Quarantine) • รอ...เฝ้าระวังโรคต่อเนื่อง • เตรียมความพร้อม บริหารจัดการ ภาวะปกติ/ฉุกเฉิน • สื่อสาร สร้างความเข้าใจ
การดำเนินงานของประเทศไทยการดำเนินงานของประเทศไทย • ประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ • ส่งหนังสือขอความร่วมมือ จากสำนักสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด และกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง • เตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบัติการในการตรวจหาเชื้อ • ดำเนินการเฝ้าระวังโรค โดยได้กำหนดนิยามองค์การอนามัยโลก • ดำเนินการแจกบัตรคำเตือนสุขภาพ ให้แก่ผู้เดินทางจากต่างประเทศทุกคน และติดตามอย่างต่อเนื่อง • แนวทางด้านการวินิจฉัย รักษาพยาบาล และป้องกันการติดเชื้อในรพ.โรงพยาบาล • รายงานข้อมูลจาก “ศูนย์ข่าวกรองโรคติดติออุบัติใหม่แห่งชาติ” • สื่อสารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ์
“แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)” “ประเทศไทย สามารถป้องกัน ควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ โดยมีศักยภาพและความพร้อมของระบบบริหารจัดการ บุคลากร และการจัดการองค์ความรู้”
“แผนยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2556-2559)” ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษาและควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่าให้ปลอดโรค ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ความเสี่ยง
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ
คณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกันคณะกรรมการอำนวยการเตรียมความพร้อมป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ รองนายกรัฐมนตรี (ประธาน) คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษาและควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการเชิงบูรณาการและ เตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 2 การจัดการระบบการเลี้ยงและสุขภาพสัตว์ และสัตว์ป่าให้ปลอดโรค คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 5 การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ความเสี่ยงของโรคติดต่ออุบัติใหม่ คณะอนุกรรมการยุทธศาตร์ที่ 3 พัฒนาระบบจัดการความรู้ และส่งเสริมการวิจัยพัฒนา คณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนแผนฯ คณะอนุกรรมการ เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ
ตัวเรา • ครอบครัว • ชุมชน • หน่วยงาน • องค์กรปกครอง • ระดับประเทศ พึ่งตนเองได้ + ความยั่งยืน
Mission Possible Mission Possible ขอบคุณครับ