1 / 30

โครงการ “เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สืบสานพระเมตตา เร่งรักษาวัณโรค”

โครงการ “เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สืบสานพระเมตตา เร่งรักษาวัณโรค”. เป็นโครงการภายใต้ โครงการ 80 พรรษา สืบสานพระเมตตา พัฒนาสุขภาพผู้สูงวัย ของกระทรวงสาธารณสุข. กลุ่มเป้าหมาย. ผู้สูงอายุ. วัตถุประสงค์.

petra
Download Presentation

โครงการ “เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สืบสานพระเมตตา เร่งรักษาวัณโรค”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการ “เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สืบสานพระเมตตา เร่งรักษาวัณโรค”

  2. เป็นโครงการภายใต้ โครงการ 80 พรรษาสืบสานพระเมตตาพัฒนาสุขภาพผู้สูงวัยของกระทรวงสาธารณสุข

  3. กลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ

  4. วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างภาคีเครือข่ายและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ในการป้องกัน ควบคุมวัณโรค วัตถุประสงค์ทั่วไป

  5. วัตถุประสงค์เฉพาะ 1. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการวินิจฉัยผู้ป่วยวัณโรคให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ 3. เพื่อพัฒนากิจกรรมการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรคในพื้นที่ ที่ยังมิได้รับการสนับสนุนการดำเนินงานด้านการผสมผสาน งานวัณโรค และโรคเอดส์ 4. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคี เครือข่ายในการดำเนินงาน เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัณโรค อันจะนำไปสู่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกัน ควบคุมวัณโรคที่ถูกต้อง

  6. เป้าหมาย 1. หน่วยบริการของกรมควบคุมโรคที่ให้การวินิจฉัยวัณโรค สามารถดำเนินงานด้านการชันสูตรวัณโรคตามมาตรฐานสากล 2. ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาเข้าถึงบริการรักษาด้วยยาสำรองแนวที่ 2 3. ผู้รับผิดชอบงานวัณโรคและงานเอดส์ของโรงพยาบาลในพื้นที่ ที่ยังมิได้รับการสนับสนุนการดำเนินงาน ผสมผสานงานวัณโรค และโรคเอดส์ จำนวน 420 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการดำเนินงานผสมผสานงานวัณโรคและงานเอดส์ 4. ภาคี เครือข่าย จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สื่อมวลชน และชุมชน ในส่วนกลาง และภูมิภาค ให้การสนับสนุนกิจกรรม ป้องกัน ควบคุมวัณโรค

  7. พื้นที่ดำเนินการ ทุกจังหวัด ทั่วประเทศ ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ 2550 ( กุมภาพันธ์ 2550 – กันยายน 2550)

  8. กิจกรรมการดำเนินงานและงบประมาณกิจกรรมการดำเนินงานและงบประมาณ งบประมาณกรมควบคุมโรค ที่ได้รับจัดสรรตามนโยบายรัฐบาล จำนวน 54,160,000 บาท

  9. กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค ด้านระบบบริการชันสูตรที่มีคุณภาพ งบประมาณ 5,000,000 บาท

  10. กิจกรรมหลักที่ 1 ระดับประเทศ

  11. กิจกรรมหลักที่ 1 ต่อ ระดับประเทศ

  12. กิจกรรมหลักที่ 1 ต่อ ระดับประเทศ

  13. กิจกรรมหลักที่ 1 ต่อ ระดับภูมิภาค

  14. กิจกรรมหลักที่ 1 ต่อ ระดับภูมิภาค

  15. กิจกรรมหลักที่ 2 พัฒนาศูนย์สาธิตบริการด้านการควบคุมวัณโรค จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์สาธิตบริการด้านการควบคุมวัณโรคสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ที่ 6 ขอนแก่น, ที่ 7 อุบลราชธานี, ที่ 10 เชียงใหม่ , ที่ 12 สงขลา และกลุ่มวัณโรค งบประมาณ 7,500,000 บาท

  16. กิจกรรมหลักที่ 2 สคร. กำหนดกิจกรรม  โอนงบประมาณให้ สคร. ดำเนินการ

  17. กิจกรรมหลักที่ 3 สนับสนุนยาสำรองแนวที่ 2 ( 2nd line drug) ให้แก่โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพฯ / ปริมณฑลและในระดับเขต งบประมาณ 15,000,000 บาท

  18. กิจกรรมหลักที่ 3

  19. กิจกรรมหลักที่ 4 พัฒนาการดำเนินงานผสมผสานงานวัณโรค และโรคเอดส์ในประเทศไทย งบประมาณ 2,596,800 บาท

  20. กิจกรรมหลักที่ 4

  21. กิจกรรมหลักที่ 5 การสนับสนุนทางนโยบายการสื่อสาร และการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมทางสังคม (Advocacy , Communication and Social Mobilization : ACSM) งบประมาณ 20,605,500 บาท

  22. กิจกรรมหลักที่ 5

  23. กิจกรรมหลักที่ 5 ต่อ

  24. กิจกรรมหลักที่ 6 การบริหารจัดการโครงการ (Administration) งบประมาณ 3,457,700 บาท

  25. กิจกรรมหลักที่ 6

  26. งบประมาณที่โอนให้ สคร. ที่ 1-12

  27. ตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อประเมินผล 1. ร้อยละ 80 ของห้องปฏิบัติการตรวจชันสูตรวัณโรคผ่านกระบวนการประกัน และควบคุมคุณภาพการตรวจหาเชื้อวัณโรค (AFB) ทางกล้องจุลทรรศน์ และ/ หรือการเพาะเลี้ยงเชื้อวัณโรคตามมาตรฐานสากล 2. ศูนย์สาธิตบริการด้านการควบคุมวัณโรค 5 แห่ง ได้รับการพัฒนาให้ดำเนินงาน ควบคุม ป้องกันวัณโรคได้ตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ 3. ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา จำนวน 186 ราย ได้รับการรักษาด้วยยาสำรองแนวที่ 2 ( 2nd line drug ) 4. ผู้รับผิดชอบงานวัณโรคและงานเอดส์ของโรงพยาบาล จำนวน 420 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมวัณโรค 5. จำนวน ภาคี เครือข่าย ที่เข้าร่วมโครงการและให้การสนับสนุนกิจกรรมป้องกัน ควบคุมวัณโรค

  28. 1. พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อันเกี่ยวข้องกับงานวัณโรค ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณชน อย่างกว้างขวาง 2. มีความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน ในการค้นหา ดูแล รักษา ผู้ป่วยวัณโรค 3. ผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการดูแล รักษา ตามมาตรฐาน 4. มีศูนย์สาธิตบริการด้านการควบคุมวัณโรค ที่สามารถเป็นแหล่งศึกษาดูงานได้ 5 แห่ง 5. ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานสามารถเข้าถึงบริการ การดูแลรักษาได้ โดยไม่ต้องจ่ายค่ารักษา 6. อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อ (Treatment Success Rate ) สูงขึ้น ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  29. ขอให้ ทุก สคร.ดำเนินการเขียนโครงการรองรับกิจกรรมที่ได้รับงบประมาณสนับสนุน

  30. กำหนดการดำเนินโครงการกำหนดการดำเนินโครงการ ทุกกิจกรรมควรแล้วเสร็จ ภายในสิงหาคม 2550 เพื่อจัดทำและส่งรายงาน ให้แล้วเสร็จภายในกันยายน 2550

More Related