310 likes | 926 Views
ผลพลอยได้จากผลิตภัณฑ์ประมง. ชนิดและปริมาณของเสียจากอุตสาหกรรมการแปรรูปสัตว์น้ำ ขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ เช่น ของเสียจากปู หอยนางรม หรือหอยแมลงภู่สูงประมาณร้อยละ 80 ขณะที่ของเสียจากการผลิตทูน่าประมาณร้อยละ 30 –35 . ชนิดของเสียจากกระบวนการแปรรูปสัตว์น้ำ
E N D
ผลพลอยได้จากผลิตภัณฑ์ประมงผลพลอยได้จากผลิตภัณฑ์ประมง • ชนิดและปริมาณของเสียจากอุตสาหกรรมการแปรรูปสัตว์น้ำ ขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ เช่น • ของเสียจากปู หอยนางรม หรือหอยแมลงภู่สูงประมาณร้อยละ 80 • ขณะที่ของเสียจากการผลิตทูน่าประมาณร้อยละ 30 –35 ชนิดของเสียจากกระบวนการแปรรูปสัตว์น้ำ 1. Solid Waste ได้แก่ กระดูก เปลือกหอย หนัง เครื่องใน เป็นต้น 2. Liquid Waste ได้แก่ ของเหลวที่มาจากการล้าง หรือสารละลาย
ตารางที่ 1ปริมาณของเสียในระหว่างการแปรรูปสัตว์น้ำ วัตถุดิบ ของเสีย Oyster 75-80 % Crab 70-75 % Shrimp 50-55 % Tuna 40-50 % Salmon 30-35 % ตารางที่ 2องค์ประกอบของส่วนหัวและเปลือกกุ้ง
ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมสัตว์น้ำผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ • อุตสาหกรรมการแปรรูปกุ้ง: หัวกุ้ง เปลือกกุ้ง • เศษเหลือจากการแปรรูปกุ้ง มีประมาณ ร้อยละ 40-55 โดยน้ำหนัก • กุ้งก้ามกรามน้ำหนักส่วนหัวร้อยละ 60 กุ้งกุลาดำ มีน้ำหนักส่วนหัวร้อยละ 40 • นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายทาง เช่น • -ใช้เป็นอาหารสัตว์ • - สกัด ไคติน ไคโตซาน • - สกัดสารแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ซึ่งเป็นแคโรทีนอยด์ที่มีสีแดง ชมพู หรือสีส้ม มีคุณสมบัติเป็นสารกันหืนที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดอนุมูลอิสระ ทำให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง และป้องกันโรคอัลไซเมอร์ ยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นจากไขมัน
2. การสกัดไคติน ไคโตแซน (chitin, chitosan) • ไคตินและไคโตแซน เป็นสารโคโพลิเมอร์ของกลูโ คส (copolymer) ธรรมชาติที่จัดอยู่ในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตผสม ประกอบด้วยอนุพันธ์ของน้ำตาลกลูโคส ที่มีธาตุไนโตรเจนเกาะอยู่ภายในโมเลกุล ทำให้มีสมบัติเฉพาะตัวในการเกิดปฏิกิริยากับสารหลายชนิด • ไคตินและไคโตซานเป็นส่วนประกอบของสัตว์มีเปลือก จึงสามารถสกัดออกได้จากสัตว์มีปล้อง เช่น กุ้ง ปู แกนหมึก เปลือกตัวไหม • สารละลายไคโตซาน มีคุณสมบัติเป็นแคทอิออนิกพอลิเมอร์ และมีสมบัติพิเศษในการดูดซับอิออนบวกและอิออนลบได้ จึงถูกนำมาใช้จับอิออนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การบำบัดน้ำเสียในอุตสาหกรรม
การนำไคตินและไคโตซานมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการนำไคตินและไคโตซานมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม 1. ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ใช้เป็นส่วนประกอบของแชมพูสระผม ครีมนวดผม และครีมปรับสภาพเส้นผม เนื่องจากสารไคโตซานมีคุณสมบัติในการเคลือบ จึงเก็บความชุ่มชื้นไว้ ทำให้ผมนุ่ม นอกจากนี้ยังใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอางแต่งหน้า โลชั่นทาผิว 2. ผลิตภัณฑ์ป้องกันจุลินทรีย์ และการเจริญของศรัษตรูพืชหลายชนิด 3. ผลิตภัณฑ์อาหารควบคุมน้ำหนัก ทั้งในรูปผสมในอาหารควบคุมน้ำหนัก และในรูปอัดเม็ด 4. ใช้ในอาหารหมัก โดยเป็นตัวหุ้มและยึดเกาะสำหรับเอนไซม์และโปรตีน และเป็นตัวกลางในการจับโลหะ 5. เป็นสารเพื่อใช้สร้างและตกตะกอน ในการบำบัดน้ำเสีย โดยจับกับประจุบวกและประจุลบในน้ำเสีย เกิดเป็นตะกอนpolyelectrolyte
การนำไคตินและไคโตซานมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการนำไคตินและไคโตซานมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม 6. ผลิตภัณฑ์ไคโตซานขึ้นรูปยึดเกาะโดยขึ้นรูปเป็นเจล นำไปใช้ในการจับเซลล์ หรืออวัยวะต่าง ๆ เพื่อนำไปศึกษารายละเอียดต่อไป 7. ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว เนื่องจากมีคุณสมบัติเหนียวและรักษาความชื้นได้ดี 8. ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ พัฒนาเป็นแผ่นปิดแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก นอกจากนี้ยังมีการผลิตหนังเทียมจากไคโตซานและคอลาเจนจำหน่าย 9. เคมีภัณฑ์เกษตร สำหรับเคลือบเมล็ดพันธุ์ ช่วยเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชให้อยู่ได้นานกว่า ป้องกันเชื้อรา แบคทีเรีย ใช้เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช ปรับสภาพดิน และใช้เคลือบผลผลิตให้เก็บได้นานกว่า
3. ผลพลอยได้จากการแปรรูปปลา 3.1 เจลาติน(gelatin) เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นคอลอยด์ มีองค์ประกอบ คือ คอลาเจน เมื่อนำมาผ่านกระบวนการด้วยความร้อนชื้น สามารถเปลี่ยนเป็นเจลาตินได้ • ประโยชน์ของเจลาติน • อุตสาหกรรมยา ใช้ทำแคปซูลยา ทั้งแคปซูลชนิดอ่อนและชนิดแข็ง • อุตสาหกรรมถ่ายภาพ ใช้เป็นวัสดุเคลือบฟิล์ม แผ่นกรองกระดาษพิมพ์เขียว • อุตสาหกรรมอาหาร ใช้เป็นสารให้ความคงตัวในไอศครีม (Starbilizer) ใช้เป็นสารให้ความใสในน้ำผลไม้ ไวน์ เบียร์ โดยทำปฏิกิริยากับพวกแทนนิน เพคติน และสารอื่นที่ทำให้เกิดความขุ่น
ขั้นตอนการสกัดเจลาตินมีดังนี้ หัว กระดูก ก้างปลา ล้างด้วยน้ำไหล 3-4 ชั่วโมง หมักในสารละลายด่าง 0.5 % 6-8 ชั่วโมง 2-3 ครั้งล้างด้วยน้ำไหล 3-4 ชั่วโมง หมักในสารละลายกรด 0.5 % (H2SO4) 2-3 ครั้ง ล้างด้วยน้ำไหล 3-4 ชั่วโมง ต้มน้ำ อัตราส่วน 1: 2 80 ซ เจลาติน
3.2 การทำกาว (liquid fish glue) • ส่วนของปลาที่นำมาทำกาว ได้แก่ หนัง กระดูก และเศษเหลือของปลา หนังปลาที่นิยมนำมาผลิตกาว ได้แก่ ปลา คอด อลาสกาพอลลอค แฮดดอก และฉลามสามารถใช้ได้ทั้งหนังปลาสดและหนังปลาที่ผ่านการดองเกลือมาแล้ว หนังปลา ล้างด้วยด่าง 0.2 % NaOH,KOH ล้างด้วยกรด 0.2 % HCl เพื่อกำจัด โปรตีนที่ไม่ต้องการออก ล้างด้วยน้ำเย็น ต้มกับน้ำ (1:1) 8 ชั่วโมง เติม CH3COOH เพื่อให้กาวใส กรอง Liquid Fish Glue
ประโยชน์ของกาวจากปลา • ใช้เป็นกาวติดแสตมป์ • ใช้ในอุตสาหกรรมถ่ายภาพ • ใช้ในการทำแม่พิมพ์โลหะ
3.3 Fish meal ปลาป่น และFish oil น้ำมันปลา • ประเทศที่ผลิตน้ำมันปลา ได้แก่ ญี่ปุ่น ประเทศในแถบแสกนดิเนเวีย ชิลี เปรู • สหรัฐอเมริกาประเทศที่ผลิตปลาป่นมาก ได้แก่ ชิลี เปรู ญี่ปุ่น และประเทศในแถบ • แสกนดิเนเวีย • วัตถุดิที่ใช้ในการผลิตน้ำมันปลาและปลาป่น ได้แก่ ปลาAnchovy (อเมริกาใต้) • Menhaden(สหัฐอเมริกา และคานาดา) Sardine(ญี่ปุ่น), Tuna(ไทย และ • ออสเตรเลีย) • วัตถุในการผลิตน้ำมันปลา: ปลาเป็ด เศษเหลือจากโรงงานแปรรูป เช่น • เศษเหลือจากโรงงานทูน่า ปลาที่ได้จากการจับโดยตรง
การใช้ประโยชน์จากน้ำมันปลาการใช้ประโยชน์จากน้ำมันปลา • การเคลือบเงาและเคลือบสีต่าง ๆ • 2. การฟอกหนัง ทำให้หนังมีความนุ่ม ยืดหยุ่น • 3. ใช้เป็นส่วนผสมในน้ำมันหล่อลื่น ในอุตสาหกรรมอาหาร • 4. ใช้เป็นส่วนผสมในยางลบ • 5. วัสดุเคลือบเงา • 6. วัสดุกันสนิม • 7. ส่วนประกอบในการทำหนังเทียม • 8. ทำยาฆ่าแมลงไม่ตกค้าง ไม่ซึมน้ำ กันเชื้อราและแมลงในผลไม้ • 9. ใช้ทำเชื้อเพลิง เช่น เทียนไข • 10. ใช้เป็นส่วนผสมในเหยื่อตกปลา • 11.ใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์ เป็นอาหารของมนุษย์
3.4 Isinglass • ทำจากกระเพาะลมปลา sturgeon ชั้นนอกซึ่งหนาและมีขุยมาก ประกอบด้วย collgen ปริมาณสูง นำไปทำ gelatin คุณภาพสูง ส่วนกระเพาะลมชั้นใน ประกอบด้วย gaunin เป็นสารให้ความวาว ผลิตมากที่รัสเซีย บราซิล ฟิลิปปินส์ • ประโยชน์ของกระเพาะลม เป็นสารทำให้ใส ในไวน์ เบียร์ น้ำผลไม้ ใช้เป็นส่วนผสมของสารเพิ่มความเหนียวและความเงางามให้กับเส้นไหม