700 likes | 862 Views
Electronic Commerce. อาจารย์ช นิดา เรืองศิริวัฒน กุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ. Building EC System การพัฒนาระบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. ระบบ โปรแกรมต่าง ๆ ใน EC. ระบบแคตตาล๊อกสินค้า (E-Catalogs) ระบบตะกร้า (Shopping Cart) ระบบการชำระเงิน (Payment System)
E N D
Electronic Commerce อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ Building EC System การพัฒนาระบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ระบบโปรแกรมต่าง ๆ ใน EC ระบบแคตตาล๊อกสินค้า (E-Catalogs) ระบบตะกร้า (Shopping Cart) ระบบการชำระเงิน (Payment System) ระบบรักษาความปลอดภัย (Security System) ระบบติดตามสถานะการขนส่งสินค้า (Tracking) ระบบการวางแผนการผลิต (EnterpriseResource Planning : ERP ) ระบบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management : CRM) ระบบการให้บริการเฉพาะบุคคล (Personalization) ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory)
องค์ประกอบหลักและฟังก์ชั่นต่างๆ ของ EC หน้าร้าน(Front end) ถูกสร้างโดยผู้ขาย ส่วนใหญ่ที่เห็นจะเป็นแบบ B2C มีความสามารถต่างๆที่จะให้บริการ โดยหน้าร้านจะต้องมีการ เสนอขายสินค้าให้กับลูกค้าดังรายละเอียดต่อไปนี้ แคตตาล๊อกสินค้า (E-Catalogs) ตะกร้าสินค้า (Shopping Cart) การค้นหา และเปรียบเทียบสินค้า สามารถเลือกและต่อรองราคาได้ ช่องทางการชำระเงิน (ส่วนมากมักจะใช้บัตรเครดิต) และขบวนการสั่งสินค้า มีการตอบรับสินค้า มีการยืนยัน การสั่งชื้อสินค้า (order confirmation)
องค์ประกอบหลักและฟังก์ชั่นต่างๆ ของ EC หน้าร้านจะต้องมีการเสนอขายสินค้าให้กับลูกค้าดังรายละเอียดต่อไปนี้ (ต่อ) มีการติดตามดูผลการสั่งซื้อสินค้า ตรวจสอบสินค้าและบริการก่อนและหลังการขาย กระดานสนทนา สำหรับข้อแนะนำ เสนอแนะ ระบบ Credit (ความเชื่อมั่นในการให้บริการ) มีการจัดการระบบขนส่ง
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน สรุปหน้าร้านจะต้องประกอบด้วย 3 ระบบย่อย (subsystems) ได้แก่ ระบบของพ่อค้า หรือ หน้าร้านที่ให้บริการเกี่ยวกับ แคตตาล็อค และ shopping cart ระบบของการดำเนินการสำหรับ ระบบการสั่งซื้อ, การจ่ายเงิน และระบบอื่นๆ ช่องทางในการจ่ายเงิน – ระบบการเงิน (financial systems)
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน ฟังก์ชันที่ต้องการสำหรับพ่อค้า (Merchant’s need to:) มีการให้บริการเพื่อให้สามารถเข้าถึง catalog และ electronic shopping cart ตรวจสอบเครดิตของลูกค้า และอนุมัติการสั่งซื้อ ขั้นตอนการสั่งซื้อ (เป็นการบริการหลังร้าน : back-end service) จัดการส่งสินค้า ตรวจสอบการขนส่งสินค้าเพื่อให้มั่นใจว่าได้จัดส่งเรียบร้อยแล้ว มีการให้บริการเกี่ยวกับผู้ซื้อและผู้เยี่ยมชม ในการลงทะเบียน, แสดงความคิดเห็น, หรือแสดงในสิ่งที่ลูกค้าต้องการเพิ่มเติม
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน การออกแบบที่ต้องคำนึงถึง คือ ต้องมีการโหลดอย่างรวดเร็ว มีความสะดวก ง่าย ในการออกแบบ และใช้งาน มีการเชื่อมต่อกับระบบสากล การจ่ายเงินต้องให้สมบูรณ์มากที่สุด และมีความปลอดภัย ให้บริการก่อนและหลังการขาย เป็นราคาที่แท้จริง
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน สรุปขบวนการพัฒนาหน้าร้าน การใช้ทำงานของรถเข็นใส่สินค้า แนวทางที่สะดวกเพื่อสั่งและชำระเงิน การสร้าง เครดิด การบริการทำให้เป็นส่วนบุคคล กำหนดราคาที่แท้จริง แสดงผลหน้าเว็บไซต์รวดเร็ว
องค์ประกอบสำคัญของ Electronic catalog E-catalogคือ แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการนำเสนอสินค้าแบบออนไลน์ โดยจะบรรจุข้อมูลสินค้าต่างๆ รูปภาพ ราคา การลดราคา การจ่ายเงินต่างๆ ในรูปแบบออนไลน์และมัลติมีเดีย โดยสามารถแบ่งหมวดหมู่ และ ประเภท ทำให้ง่ายต่อการเข้าชม และเพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้า
ลักษณะของ e-catalog มีใบสั่งซื้อแบบออนไลน์ โดยใช้หลักการทางด้าน webbase เพื่อทำให้เกิดการสั่งซื้อที่มีความปลอดภัย มีฐานข้อมูลเพื่อดูแลในส่วนของสินค้า ราคา และการสั่งซื้อของลูกค้า มีการอินทิเกรตกับซอฟต์แวร์อื่นๆ เพื่อใช้ในการคำนวณภาษี,การนำเข้า, รองรับผู้จัดจำหน่าย และเติมเต็มในส่วนอื่นๆ องค์ประกอบสำคัญของ Electronic catalog
ขั้นตอนในการพัฒนา EC Application ขั้นตอนในการพัฒนา EC Application มี 4 ขั้นตอน step 1 : เป็นการวางแผนโครงสร้าง/สถาปัตยกรรมประกอบด้วย • เป้าหมาย และ วิสัยทัศน์ (Goals and Vision) • สารสนเทศ และข้อมูลเพื่อจะนำมาเติมเต็มในส่วนของเป้าหมายและวิสัยทัศน์ • โปรแกรมประยุกต์ที่จะนำมาจัดการในส่วนของสารสนเทศและข้อมูลต่างๆ • กำหนดฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่จะนำมารันโปรแกรมประยุกต์ • บุคลากรและกระบวนการต่างๆ ในการพัฒนาระบบ
ขั้นตอนในการพัฒนา EC Application step 2 : เลือก option ในการพัฒนา – พัฒนาเอง, จ้างบุคคลภายนอก (outsource) เป็นต้น step 3 : การติดตั้ง และการทดสอบ • การทดสอบทีละหน่วย • การทดสอบแบบรวมหลายๆ โมดูลเข้าด้วยกัน • การทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานจากประสบการณ์ของผู้ใช้งานเว็บไซต์ • ทดสอบการยอมรับ โดยการวัดว่าเว็บไซต์ได้พบกับเป้าหมายและวิสัยทัศน์ตามที่ได้วางไว้หรือไม่
ขั้นตอนในการพัฒนา EC Application • step 4 : การจัดการ/ใช้งานและการบำรุงรักษาระบบ (operation and maintenance) โดยจะต้องมีการ update อยู่เสมอ
ขั้นตอนการสร้างร้านค้าออนไลน์แบบง่ายขั้นตอนการสร้างร้านค้าออนไลน์แบบง่าย • กำหนดพื้นที่เซิร์ฟเวอร์ (Web Host) • การจดโดเมนเนม (Register a domain name) • การกำหนดเนื้อหา (Create and manage content) • การออกแบบเว็บไซต์ (Web Design) • การสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ (Web Site Construction) • การประชาสัมพันธ์ (Web site Promote) • การทำ CRM
1. กำหนดพื้นที่เซิร์ฟเวอร์ (Web Host) 1.1 เช่าพื้นที่ • Store builder service • ร้านค้าออนไลน์สำเร็จรูป • ISP hosting service (ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต) • Web hosting service 1.2 Self – host
ขอเช่าพื้นที่ในเว็บเซิฟเวอร์ผู้อื่น (Dedicated Server) • ค่าใช้จ่ายน้อย เพราะเป็นการขอเช่าพื้นที่ในเว็บเซิฟเวอร์ของผู้อื่น • มีบริษัทในและต่างประเทศที่เปิดให้บริการ • ราคาจะแตกต่างกันไปตามรายละเอียด และเงื่อนไขบริการที่ให้ • ปัจจัยที่ควรจะพิจารณา • - ขนาดพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูล • ความเร็วในการรับส่งข้อมูล • มีการจำกัดประมาณข้อมูลที่รับส่งหรือไม่ • มีบริการสนับสนุน CGI, ASP, PHP • ในกรณีที่เราใช้โปรแกรมเหล่านี้หรือไม่
เว็บ Hosting แบบคิดค่าบริการ • 108web.com • readyplanet.com • microthai.com • accepthost.com • 9host.com • thaiserver.com • yourconnect.com • etcyber.com
เป็นเจ้าของเอง (Own Server) • มีค่าใช้จ่ายสูงที่สุด • จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ • ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อเป็นเครื่องเซิฟเวอร์กับอินเตอร์เน็ตแบบตลอด 24 ชม. • ต้องเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูงจึงจะรองรับการส่งข้อมูลที่เกิดขึ้นตลอดเวลาได้รวดเร็วพอ เชื่อมต่อโดยใช้ lease line • เชื่อมต่อเครื่องเซิฟเวอร์ของเรากับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) • ใช้สาย lease line ซึ่งเป็นสายส่งข้อมูลเช่ารายเดือน (วงจรเช่า) เชื่อมต่อตลอดเวลากับ (ISP) • เสียค่าบริการรายเดือน ขึ้นอยู่กับความเร็วในการส่งข้อมูลที่ใช้ • เสียค่าเช่าสาย lease line รายเดือนให้กับการสื่อสารแห่งประเทศไทย
เป็นเจ้าของเอง (Own Server) ข้อดี • มีเครื่องเซิฟเวอร์อยู่ในสถานที่เดียวกับเรา จัดการได้ง่าย • สาย leased line เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในองค์กรกับอินเตอร์เน็ตได้ 24 ชม. • เหมาะสำหรับองค์กรใหญ่ มีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจำนวนมาก และมีการให้บริการข้อมูลผ่านเว๊บไซต์ ข้อเสีย • ค่าใช้จ่ายสูง และการรับส่งข้อมูลได้สูงสุดเท่ากับความเร็วสาย leased line • ต้องใช้บุคลากรที่เชี่ยวชาญ ในการจัดการด้านเทคนิค และการดูแลอุปกรณ์ ไม่ให้ “ล่ม” • ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยค่อนข้างสูงมากสำหรับธุรกิจ e-commerce
เชื่อมต่อโดยใช้บริการ Co-location • เชื่อมต่อเครื่องเซิฟเวอร์เราไปฝากไว้ที่ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) • โดยจะเชื่อมต่อเข้ากับวงจรสื่อสารของผู้ให้บริการรายนั้นโดยตรง • ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีแรกมาก เพราะไม่มีค่าใช้จ่าย leased line ข้อดี • ค่าใช้จ่ายถูกกว่าวิธีแรก • ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เรา สามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความรวดเร็วสูง ข้อเสีย • ติดต่อกับเครื่องเซิฟเวอร์ของเราผ่านโมเด็ม/ADSL ซึ่งมีความเร็วจำกัด • การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในเว๊บไซต์ของเราที่อยู่ในเครื่องเซิฟเวอร์จะยากกว่า • ใช้เวลามากกว่าวิธีแรก
ขอพื้นที่ฟรีในเว็บเซิฟเวอร์ (Web Hosting) • ข้อดี • ไม่มีค่าใช้จ่าย • มีเครื่องมืออำนวยความสะดวกที่แตกต่างกันไป อาจมีเว็บบอร์ด สมุดเยี่ยม อีเมล์ ตัวนับ ให้ทันทีเมื่อลงทะเบียนขอพื้นที่ • สำหรับผู้เริ่มต้นควรเลือกในส่วนที่สามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด • ควรเลือกเว็บที่สนับสนุน CGI คือรองรับภาษาสคริปต์ที่ใช้เขียนโปรแกรมต่าง ๆ เช่น ASP, PHP, Perl, DHTML • ข้อเสีย • - จำกัดพื้นที่ • - จำกัดในการติดต่อข้อมูล
Free Hosting • 100 Free.com 40 MB • Greatnow.com 100 MB • 1asphost.com 100 MB • 70megs.com 70 MB • Freeyellow.com 50 MB • Mysitespace.com 20 MB • Netfirms.com 25 MB • Sitepalace.com 8 MB • ifastnet.com 300 MB
Free hosting • geocities.com • se-ed.net • angelfire.lycos.com • 50megs.com • tripod.lycos.com • 150m.com • coolfreehost.com • netfirms.com • f2g.net • free.prohosting.com
Free hosting • สำหรับผู้ที่ใช้เนื้อที่แบบไม่คิดค่าบริการ อาจพบปัญหาชื่อเว็บไซต์ยาวเกินไป ทำให้จดจำยาก สามารถแก้ไขโดยการไปที่เว็บไซต์เหล่านี้ • www.cjb.net • www.v3.com • www.zwap.com • http://beam.to ยกตัวอย่างเช่น www.ชื่อเว็บไซต์ที่ตั้งเอง.cjb.net
ตัวอย่างบริษัทพัฒนา Web Server • Netscape • IIS • Webphere • Domino Server • Oracle Web Server • Cold Fusion
ข้อกำหนดลักษณะ Host โดยทั่วไป • ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์ • โปรแกรมระบบปฏิบัติการ เช่น windows 2000 (Internet information server) , Linux (Apache), • โปรแกรมตัวแปลภาษา เช่น ASP,PHP • โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เช่น SQL server (microsoft), MySQL (linux) • ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (เช็คจากบริการ SSL) • ราคา
การทำ Mirroring • คือ การที่เจ้าของเว็บไซต์ทำสำเนาข้อมูลจากเว็บไซต์ของบริษัทโดยการเชื่อมต่อ (host) และอัพโหลด (Upload) ข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลักของตัวเอง ไปไว้ที่คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์เครื่องอื่นในบริเวณที่มีผู้ใช้บริการเว็บไซต์ของบริษัทหนาแน่นเพื่อให้ผู้ใช้บริการที่อยู่ในพื้นที่คนละฝั่งทวีปกับเว็บไซต์หลักสามารถดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ของบริษัทได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
2. การจดโดเมนเนม (Register a domain name) การจดทะเบียนชื่อโดเมนเสมือนการจดทะเบียนชื่อบริษัทในระบบปกติ การจดชื่อโดเมนจะไม่มีการซ้ำกันเนื่องจากมีหน่วยงานกลางในการดูแล การเลือกชื่อโดเมนเป็นเรื่องที่ยากในปัจจุบัน ซึ่งต้อง สั้น กระชับ จำง่าย และสื่อความหมายถึงสินค้าหรือบริการนั้นๆ ตัวอย่างหน่วยงาน • thairegister.com • networksolution.com • thnic.co.th
เทคนิคการตั้งชื่อโดเมนเนมเทคนิคการตั้งชื่อโดเมนเนม • สั้นๆ • จำง่าย • ได้ความหมายธุรกิจ • สะกดผิดยาก • โดยใช้ตัวอักษร a-z , 0-9 และเครื่องหมาย - โดยต้องไม่ขึ้นต้น หรือลงท้ายด้วยเครื่องหมาย - และต้องไม่มี Space และต้องจด โดเมนเนม อย่างน้อย 2 ตัวอักษร
เทคนิคการตั้งชื่อโดเมนเนมเทคนิคการตั้งชื่อโดเมนเนม • ถ้ามีบริษัท ชื่อสินค้า หรือบริการ ก็ใช้ชื่อเหล่านั้นตั้งเป็นชื่อเว็บไซต์ www.hanami.com, www.hutch.co.th, www.ais.co.th • ชื่อเว็บแสดงลักษณะของบริการของเว็บ pappayon.com, Thaimate.com • สั้น จำง่ายๆ พูดง่ายและสะกดง่าย (sanook.com, kapook.com) • บางครั้งชื่อยาวก็จำง่ายเหมือนกัน (www.ThaiSecondhand.com, www.CheapHotelBooking.com) • ระวังการเติม S หรือไม่เติม Swww.HotelThailand.com (ไม่มี S) และ www.HotelsThailand.com (มี S) • ระวังการใช้คำพ้องเสียง 4, U, 2 www.bankasia4u.com • หลีกเลี่ยงการใช้ (ขีดกลาง หรือ Hyphen) www.one-2-call.com • การตั้งชื่อแบบไม่มีความหมายเลยก็ได้ google.com, yahoo.com
Read Your Domain name Carefully… ศิลปชัย WIN ART .COM WINART วินาศ โดเมนเนม คือสิ่งสำคัญที่สุด เพราะมันจะใช้แสดงความมีตัวตนของธุรกิจของคุณ
เคล็ดลับการตั้งชื่อเว็บไซต์เคล็ดลับการตั้งชื่อเว็บไซต์ • ตั้งชื่อจากประเภทของสินค้า เช่น เว็บไซต์ขายของเด็กเล่น ให้มีคำว่า Toy อยู่ในชื่อ หรือเว็บไซต์ขาย DVD ก็ให้มีคำว่า DVD อยู่ในชื่อเป็นต้น • หากเป็นองค์กร บริษัท ห้างร้าน ให้คงชื่อเดิมไว้ให้มากที่สุด ไม่แนะนำให้เปลี่ยน • ตั้งชื่อโดยดูจากรูปแบบเว็บไซต์ เช่น ถ้าเว็บไซต์ของคุณมีสีสันสดใส นำเสนอเรื่องสบายๆ ชื่อที่ใช้ควรให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน
โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม “ภาษาไทย” Sample : http://กสิกร.ธนาคาร.พาณิชย์.ไทย
3. การกำหนดเนื้อหา (Create and manage content) TextGraphicAudio FileVDO File
4. การออกแบบเว็บไซต์ (Web Design) การวางโครงสร้าง web page เพื่อง่ายต่อการดูแลและปรับปรุง • การจัดโครงสร้าง Web pages ที่ดี • เทคนิคการปรับปรุงเนื้อหา Web pages ที่จำเป็น • ความจำเป็นในการดูแล และปรับปรุงตลอดเวลา • ระยะเวลาปรับปรุงที่เหมาะสม • เนื้อหาที่ควรปรับปรุงเป็นประจำ
สิ่งจำเป็นสำหรับเว็บไซต์ E-Commerce ชื่อเว็บไซต์ ระบบค้นหาสินค้า (Search) สินค้าแนะนำ หมวดหมู่สินค้า หัวข้อที่น่าสนใจ รูปภาพสินค้า ราคาที่ดึงดูด ช๊อปปิ้งการ์ด (ตะกร้าสินค้า)
โครงสร้างเว็บไซต์ โครงสร้างแบบลำดับชั้น (Hierarchical) Homepage Member Customer Service Product Catalog About us My acc. FAQ Online Manual Pro.1 Pro. 2 Pro.3 Contact Shopping Payment
โครงสร้างเว็บไซต์แบบเส้นตรง (Linear) Tutorial Introduction Executive Summary Business description Market Analysis Competitor Analysis Operations Mission Statement Business Goals Project Objectives Competitor Analysis Grid
สีสัน หน้าตาของเว็บไซต์สำคัญอย่างไร http://www.acshop.netfirms.com/
รูปภาพประมาณ 20% ของหน้าเว็บเพจ ข้อความประมาณ 80% ของหน้าเว็บเพจ ตัวอย่างการแสดงอัตราส่วนรูปภาพกับข้อความบนเว็บเพจ
สีสัน หน้าตาของเว็บไซต์สำคัญอย่างไร • สีของเว็บไซต์กับสินค้าต้องสัมพันธ์กัน • ใช้สีที่ทำให้ร้านดูดี แต่ไม่จำเป็นต้องใช้สีในโทนร้อนแรง • สีโทนอ่อนจะช่วยให้ผู้เยี่ยมชมสบายตา • สีที่นำมาควรจะสื่อถึงสินค้า เช่น เว็บไซต์ขายผลิตภัณฑ์ที่มาจากธรรมชาติ สีที่นำมาใช้คือ สีเขียว และสีน้ำตาลเป็นต้น • สีโทนเข้มควรนำมาใช้ในลักษณะการแต่งขอบ
สีสัน หน้าตาของเว็บไซต์สำคัญอย่างไร • หากไม่แน่ใจว่าจะใช้สีใด แนะนำให้ใช้สีเทาอ่อนกับสีขาว เพราะว่าเป็นสีที่นิยมในการออกแบบ เพราะสามารถใช้ได้กับสินค้าเกือบทุกประเภท
ลักษณะของเว็บไซต์ที่ดีลักษณะของเว็บไซต์ที่ดี • ข้อความอ่านง่าย เรียบร้อย • การใช้โทนสีในการตกแต่ง ต้องเข้ากันได้ดี • การเชื่อมโยงลิงค์ควรมีความน่าสนใจ • มีข้อมูลและรูปภาพของสินค้าให้ชัดเจน • ทุกหน้าของเว็บเพจจะต้องมีช่องทางการติดต่อถึงเจ้าของเว็บไซต์ • ต้องรองรับการแสดงผลทั้ง Internet Explorer และ Netscape