1 / 165

บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต. Biology ( ว 40241 ). บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 3.1 สารอนินทรีย์ 3.1.1 น้ำ 3.1.2 แร่ธาตุ 3.2 สารอินทรีย์ 3.2.1 คาร์โบไฮเดรต 3.2.2 โปรตีน 3.2.3 ลิพิด 3.2.4 กรดนิวคลีอิก 3.2.5 วิตามิน 3.3 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต.

phuoc
Download Presentation

บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต Biology (ว 40241)

  2. บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต3.1 สารอนินทรีย์ 3.1.1 น้ำ 3.1.2 แร่ธาตุ3.2 สารอินทรีย์ 3.2.1 คาร์โบไฮเดรต3.2.2 โปรตีน 3.2.3 ลิพิด 3.2.4 กรดนิวคลีอิก 3.2.5 วิตามิน3.3 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต

  3. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • 1. สืบค้น วิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับโครงสร้าง และหน้าที่ของสาร อนินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบของเซลล์สิ่งมีชีวิต • 2. อธิบายสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ และบอกหน้าที่ของสารอินทรีย์แต่ละชนิด

  4. อะตอม (Atom)¯โมเลกุล (Molecule)¯ออแกเนลล์ (Organelle)¯เซลล์ (cell)¯เนื้อเยื่อ (Tissue)¯อวัยวะ (Organ)¯ระบบอวัยวะ (Organ System)¯ออแกนิซึม (Organism)¯ประชากร (Population)¯สังคมสิ่งมีชีวิต (Community)¯ระบบนิเวศ (Ecosystem)¯โลก (Biosphere)¯

  5. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introscience.htm#The%20Organization%20of%20Lifehttp://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introscience.htm#The%20Organization%20of%20Life

  6. Chemical Bonds; The "Glue" That Holds Molecules Together. • แต่ละอะตอมสามารถรวมกันกลายเป็นโมเลกุลด้วยพันธะทางเคมี ในสิ่งมีชีวิตมีพันธะที่สำคัญได้แก่ • covalent bond เป็นพันธะที่เกิดจากการใช้ electron ร่วมกันของ 2 อะตอม เช่น  ก๊าซไฮโดรเจน (H2) ออกซิเจน (O2) น้ำ (H2O) และมีเทน (CH4) เป็นต้น

  7. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introchemistry.htmhttp://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introchemistry.htm

  8. 1.1  nonpolar covalent  เป็นการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน โดยอิเล็กตรอนวิ่งรอบอะตอมทั้งสองเท่ากัน เช่น H2 , O2 และ CH41.2  polar covalent  เป็นการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันโดยอะตอมที่มี electronegativity สูง จะดึงอิเล็กตรอนมาใกล้ตัวมากกว่า จึงทำให้มีประจุ เช่น H2O O มี electronegativity สูงสามารถดึงอิเล็กตรอนเข้ามาวน รอบตัวเองได้มากกว่า H จึงทำให้ O เป็นลบ H เป็นบวก

  9. Polar Covalent Bonds http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introchemistry.htm

  10. 2. ionic bond เป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมที่มีประจุต่างกัน เช่น NaCl เกิดจากอะตอมของ Na ให้ electron แก่ Cl กลายเป็น Na+ ขณะที่ Cl กลายเป็น Cl- ผลทำให้ electron วงนอกของอะตอม Na และ Cl ครบ 8 กลายเป็นสารประกอบ NaCl

  11. Ionic Bonds http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/introchemistry.htm

  12. 3. hydrogen bond  เป็นพันธะที่ไม่แข็งแรงนัก เกิดกับ H ที่ต่อด้วย covalent bond กับอะตอมของธาตุที่ดึงดูด electron ได้ดี เช่น N หรือ O โดย electron ในพันธะนั้น จะดึงดูดไปใกล้ N หรือ O มากจนทำให้ H เกิดเป็นประจุ + ทำให้สามารถดึงดูดกับอะตอมอื่นที่มี electron มาก เช่น O หรือ N

  13. 4. Van der Waals interaction เป็นแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลหรือภายในโมเลกุลเดียวกัน มีผลทำให้เกิดรูปร่างของโมเลกุล5. hydrophobic interaction แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่ไม่ชอบน้ำ (hydrophobic) เช่น หยดน้ำมันเล็กๆ ลงในน้ำ หยดน้ำมันเหล่านี้ จะรวมกันเป็นหยดใหญ่เพื่อสัมผัสกับน้ำน้อยที่สุด แรงดึงดูดระหว่างหยดนี้ คือ hydrophobic interaction ระหว่างโมเลกุล

  14. Human chemistryonly a few elements are important. Here, the most abundant elements in biological systems are shown in red, lesser elements in blue, and 'trace' elements in green http://www.chem.ufl.edu/~itl/2045/lectures/lec_2.html

  15. สารอนินทรีย์

  16. น้ำ (H2O) • เซลล์มีน้ำเป็นส่วนประกอบอยู่ภายใน 70 – 90% ความสำคัญของน้ำ • 1. เป็น polar molecule จึงเป็นตัวทำละลายที่ดีเช่น เกลือ NaCl ละลายในน้ำได้ เนื่องจากโมเลกุลของน้ำมี O ประจุลบ และ H ประจุบวก • ดังนั้น O- จึงจับกับ Na+ ขณะที่ H+ จับกับ Cl-

  17. โมเลกุลน้ำที่ล้อมรอบ Na+ หรือ Cl- เรียก hydration shellสารที่ชอบน้ำ เรียกว่า hydrophilicส่วนสารที่ไม่ชอบน้ำ เรียกว่า hydrophobic

  18. 2.เกิด hydrogen bond ระหว่างโมเลกุลของน้ำ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำ เรียกว่า cohesion ซึ่งจะทำให้น้ำเคลื่อนที่จากรากไปยังส่วนต่างๆ ของพืชได้ขณะที่มีการคายน้ำ (Transpiration) ถ้าน้ำเกิด hydrogen bond กับสารอื่น เช่น ผนังเซลล์พืช เรียกว่า adhesion

  19. 3. มีความร้อนจำเพาะสูง จึงทำให้อุณหภูมิภายในเซลล์สิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก มีผลทำให้ metabolism ภายในเซลล์ยังคงปกติ 4. ความร้อนแฝงกลายเป็นไอสูง เมื่อร่างกายสูญเสียเหงื่อ หรือการที่พืชคายน้ำ จึงช่วยลดความร้อนภายในสิ่งมีชีวิตได้

  20. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/water.htm

  21. แร่ธาตุ (mineral) • แร่ธาตุเป็นกลุ่มของสารอนินทรีย์ที่ร่างกายขาดไม่ได้ มีการแบ่งแร่ธาตุที่คนต้องการออกเป็น 2 ประเภท คือ • 1. แร่ธาตุที่คนต้องการในขนาดมากกว่าวันละ 100 มิลลิกรัม ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม โพแทสเซียม คลอรีน แมกนีเซียม และกำมะถัน • 2. แร่ธาตุที่คนต้องการในขนาดวันละ 2-3 มิลลิกรัม ได้แก่ เหล็ก ทองแดง โคบอลต์ สังกะสี แมงกานีส ไอโอดีน โมลิบดีนัม เซลีเนียม ฟลูออรีนและโครเมียม

  22. หน้าที่ของแร่ธาตุ • เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของกระดูกและฟัน ทำให้กระดูกและฟันมีลักษณะแข็ง • เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ฮอร์โมนและเอนไซม์เช่น เหล็กเป็นส่วนประกอบของโปรตีนชนิดหนึ่ง เรียกว่า เฮโมโกลบิน (hemoglobin) ซึ่งจำเป็นต่อการขนถ่ายออกซิเจนแก่เนื้อเยื่อต่าง ๆ ทองแดงเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ ซึ่งจำเป็นต่อการหายใจของเซลล์ไอโอดีนเป็นส่วนประกอบของฮอร์โมนไธรอกซีน ซึ่งจำเป็นต่อการทำงานของร่างกาย ถ้าหากร่างกายขาดเกลือแร่เหล่านี้ จะมีผลกระทบต่อการทำงานของโปรตีนฮอร์โมนและเอนไซม์ที่มีเกลือแร่เป็นองค์ประกอบ

  23. หน้าที่ของแร่ธาตุ • ควบคุมความเป็นกรด - ด่างของร่างกาย โซเดียม โพแทสเซียม คลอรีน และฟอสฟอรัส ทำหน้าที่สำคัญในการควบคุมความเป็นกรด-ด่างของร่างกาย เพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ • ควบคุมดุลน้ำ โซเดียม และโพแทสเซียมมีส่วนช่วยในการควบคุมความสมดุลของน้ำภายในและภายนอกเซลล์ • เร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาหลายชนิดในร่างกายจะดำเนินไปได้ ต้องมีเกลือแร่เป็นตัวเร่ง เช่น แมกนีเซียม เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับการเผาผลาญกลูโคสให้เกิดกำลังงาน

  24. สารอินทรีย์

  25. สารอินทรีย์ • สารอินทรีย์เป็นสารที่มีธาตุ C , H , O , N , P , S เป็นองค์ประกอบ • สารอินทรีย์ที่พบในสิ่งมีชีวิต เรียกว่า สารชีวโมเลกุล (biological molecule) • C + H = hydrocarbon • หมู่ฟังก์ชัน (functional group) คือ หมู่อะตอมหรือกลุ่มอะตอมของธาตุที่แสดงสมบัติเฉพาะของสารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เช่น CH3OH (เมทานอล) CH3CH2OH(เอทานอล) ซึ่งต้องเป็นสารอินทรีย์พวกแอลกอฮอล์ เพราะสารแต่ละชนิดต่างก็มีหมู่ -OH เป็นองค์ประกอบ แสดงหมู่ -OH เป็นหมู่ฟังก์ชันของแอลกอฮอล์

  26. ตารางหมู่ฟังก์ชันบางชนิดและสารประกอบที่มีหมู่ฟังก์ชันเป็นองค์ประกอบตารางหมู่ฟังก์ชันบางชนิดและสารประกอบที่มีหมู่ฟังก์ชันเป็นองค์ประกอบ

  27. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)

  28. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) • คาร์โบไฮเดรต หมายถึง "คาร์บอนที่อิ่มตัวด้วยน้ำ" • เป็นสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วย C , H , O • โดยอัตราส่วนของ H : O = 2 : 1 (โดยปริมาตร) • เป็นสารอินทรีย์ที่หมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (-CHO) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) หรือหมู่คาร์บอนิล (-CO) และหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) เป็นหมู่ฟังก์ชัน

  29. ประเภทของคาร์โบไฮเดรตประเภทของคาร์โบไฮเดรต • คาร์โบไฮเดรตจำแนกตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ได้ 2 พวก คือ 1. พวกที่เป็นน้ำตาล 2.พวกที่ไม่ใช่น้ำตาล • คาร์โบไฮเดรตจำแนกตามขนาดของโมเลกุล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) 2. โอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide) 3. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) 

  30. ตาราง ชนิดของน้ำตาลตามจำนวนคาร์บอนของ monosaccharide

  31. monosaccharide • น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ได้แก่ กลูโคส ฟรุคโตส และกาแลคโตส • มีสูตรโครงสร้างอย่างง่าย คือ (CH2O) n เมื่อ n คือ จำนวนอะตอมของ C ซึ่งอาจ เป็น 3 - 7 (สูตรโครงสร้างเหมือนกัน แต่สูตรโมเลกุลต่างกัน) • ตัวอย่างเช่น กลูโคส มีโครงสร้างเป็นทั้งสายยาว หรือวงแหวน และมี 2 configuration คือ แบบ หรือ configuration  • พันธะที่เชื่อมระหว่างน้ำตาล  2 โมเลกุลเรียก glycosidic เช่น ถ้าเชื่อมระหว่าง - glucose  2 โมเลกุล จะเรียกว่า  1 - 4 linkage  และ • เชื่อมระหว่าง - glucose จะเรียกว่า   - linkage  • นอกจากนี้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีหมู่ อยู่ปลายสาย จะเรียกว่า Aldose และไม่อยู่ปลายสายเรียกว่า ketose และการเป็น isomer กันก็ทำให้เกิดน้ำตาลคนละชนิด เช่น กลูโคส กับ แกแลคโตส ดังนั้น น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจึงมีความหลากหลายชนิด

  32. รูปแสดงโครงสร้างกลูโคสแบบ หรือ

  33. 1) Monosaccharides (simple sugars)These molecules consist of open-chain or ring forms of 3 to 8 carbon atoms. The most common type of monosaccharide is the simple sugar "glucose". http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm

  34. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htmhttp://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm

  35. Glucose is an important energy source in metabolically active cells.- Fructose is a common sugar in fruit), and - Galactose is the sugar found in milk- Sugars with 6 carbons are called "hexoses". 5 carbon sugars are "pentoses". Whereas 7 carbon sugars are called "heptoses".- Two very important "pentoses" (5 carbons) are, Ribose found in Ribonucleic Acid, RNA, and Deoxyribose found in Deoxyribonucleic Acid, DNA.

  36. disaccharide • ประกอบด้วย 2 monosaccharide เชื่อมด้วย glycosidic bond แล้วเสียน้ำ (dehydration) ไป 1 โมเลกุล • จึงมีสูตรโครงสร้าง คือ C12H22O11 • เช่น ซูโครส (กลูโคส + ฟรุกโทส) , มอลโทส (กลูโคส + กลูโคส) , แลคโทส (กลูโคส + แกแลคโทส) • ถ้ามีน้ำตาล monomer ตั้งแต่ 3 - 15 โมเลกุล เรียกว่า oligosaccharide

  37. รูปแสดง disaccharides

  38. Disaccharides When two monosaccharides are joined together they form a "disaccharide". This linking of two sugars involves the removal of a molecule of H2O (water) and is therefore called a "dehydration linkage". The reaction is called "dehydration synthesis".e.g. Glucose + Glucose = Maltose Glucose + Fructose = Sucrose Glucose + Galactose = Lactose

  39. This forms a bond between the #1 carbon of one glucose and the #4 carbon of the other, therefore it is called an 1-4 linkage, (or Glycosidic Linkage). http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm

  40. polysaccharide • ประกอบด้วย monosaccharide จำนวนมากเป็นหลายพันโมเลกุล ได้แก่ พวกแป้ง (อาหารสะสมในพืช) glycogen (ในสัตว์) และ cellulose (ส่วนประกอบของผนังเซลล์) • แป้ง : ประกอบด้วย glucose ต่อกันเป็นจำนวนมากด้วยพันธะ 1   4 ถ้าต่อกันแบบเป็นสายยาวไม่มีกิ่งก้านเรียก amylose มีประมาณ 20% และถ้าต่อกันเป็นกิ่งก้านเรียก amylopectin มีประมาณ 80% • เซลลูโลส : ประกอบด้วย glucose ที่ต่อกันเป็นสายยาวด้วยพันธะ 1   4 หลังจากนั้นแต่ละเส้นใยเซลลูโลสมาเรียงขนานกันจับกันด้วย H - bond อยู่รวมกันเป็น microfibril ซึ่งหลาย microfibril จะรวมกันเป็น fibril ร่างกายมนุษย์ไม่สามารถย่อยเซลลูโลสได้ เพราไม่มี enzyme ที่ทำลายพันธะที่เชื่อมระหว่างโมเลกุลน้ำตาลทั้งสอง ( - linkage) ในวัวสามารถย่อยเซลลูโลสได้เนื่องจากมีแบคทีเรียบางชนิดย่อยสลายเซลลูโลสได้ • ไคทิน : พบในแมลง กุ้ง ปู และราคล้ายกับเซลลูโลสแต่มีหมู่ N จับอยู่ที่น้ำตาล นั่นคือเป็น polymer ของ amino sugar

  41. Polysaccharides These are long chains of monosaccharides linked together by dehydration linkages. http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm

  42. รูปแสดง polysaccharides

  43. The simplest polysaccharide is a long chain (polymer) of glucose, called "starch". http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/carbohydrates.htm

  44. There are 3 types of starch :(1) Amylose : a non-branching straight chain of glucose - used to store glucose in plants.(2) Amylopectin : a branched chain, also used to store glucose in plants.(3) Glycogen : another branched chain molecule used to store glucose in animals. Polysaccharides can also form very important structural components in plants and animals. Cellulose: is the principal constituent in plant cell walls.

More Related