180 likes | 364 Views
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม. เปรียบเทียบผู้ป่วยโรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก จังหวัดนครปฐม. เดือนตุลาคม2556 กับ เดือนตุลาคม 2555. อัตราต่อปชกแสนคน. สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก.
E N D
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาจังหวัดนครปฐมประจำเดือน ตุลาคม 2556งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
เปรียบเทียบผู้ป่วยโรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก จังหวัดนครปฐม เดือนตุลาคม2556 กับ เดือนตุลาคม 2555 อัตราต่อปชกแสนคน
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556 ตารางที่ 1 เรียงลำดับจังหวัดที่พบผู้ป่วย 10 อันดับแรกของประเทศไทย แหล่งที่มา: http://www.boe.moph.go.th/ เข้าถึงข้อมูล ณ วันที่ 27 ต.ค.. 56
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดนครปฐมสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดนครปฐมสถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดนครปฐม ผู้ป่วยสะสม 1,073 ราย ตาย 2 ราย อัตราป่วยเป็นอันดับที่ 57 ของประเทศไทย จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 27 ตค56)
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2556 จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 27ตค 56) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
เปรียบเทียบอัตราป่วยต่อแสนสะสมโรคไข้เลือดออก ปี 2556 กับ 2555จำแนกตามเครือข่าย(ข้อมูล ณ 27ตค 56) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออกพื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก รายละเอียดดังเอกสาร แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
ประเด็นข้อสังเกต /ปัญหาที่พบ (ปี 2556) 1. มีการระบาดหนักในช่วงเดือนสค 56 – กย 56 (พบทั้ง 4 สายพันธุ์) 2. ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการคล้ายโรคอื่น ๆ ร่วมด้วย 3. จากการติดตามของทีมงานฯ ในพื้นที่ที่พบผู้ป่วยส่วนใหญ่พบลูกน้ำ 4. สอบสวนโรคยังไม่ครอบคลุม /ไม่แจ้งพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง 5. ระบบการดูแล รักษาของโรงพยาบาลยังไม่เหมาะสม
ประเด็นปัญหาที่พบจากการวิเคราะห์ข้อมูล/สอบสวนประเด็นปัญหาที่พบจากการวิเคราะห์ข้อมูล/สอบสวน 1. แรกวินิจฉัยเป็นไข้ไม่ทราบสาเหตุ/วันเริ่มป่วย 4 วัน – 10 วัน 2. ผู้ป่วยมีอาการที่ไม่ตรงตามนิยาม ไข้ ไอ มีน้ำมูก อาเจียน ท้องร่วง 3. การนัดตรวจซ้ำ นัดช้า (ให้มาอีก 3 วัน) 4. ไม่สามารถจัดการกับสิ่งแวดล้อมได้ สอบสวนโรคไม่ครอบคลุม /ทำเฉพาะที่เกิดโรค /ไม่ดำเนินการเฝ้าระวังในพื้นที่ใกล้เคียง
แหล่งที่มา :เข้าถึงได้จากhttp://beid.ddc.moph.go.th/th_2011/news.php?items=668ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2556
กลุ่มระบบทางเดินหายใจ(สงสัยไข้หวัดใหญ่)กลุ่มระบบทางเดินหายใจ(สงสัยไข้หวัดใหญ่) แหล่งที่มา :เข้าถึงได้จาก://164.115.5.58/ili/ ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2556
แหล่งที่มา :เข้าถึงได้จาก://164.115.5.58/ili/ ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2556
Novel Corona control strategies • เร่ง...วินิจฉัย / ค้นหา • รีบ...ดูแล ในห้องแยกโรค • เร่ง...รายงาน สสจ. สคร. ส.ระบาดวิทยา • รีบ...สอบสวน ค้นหาผู้ป่วย ผู้สัมผัส • เร่ง...ป้องกัน ควบคุม (แยกตัว - Quarantine) • รอ...เฝ้าระวังโรคต่อเนื่อง • เตรียมความพร้อม บริหารจัดการ ภาวะปกติ/ฉุกเฉิน • สื่อสาร สร้างความเข้าใจ
ขอบคุณค่ะ Darunee Phosri