790 likes | 1.47k Views
การประเมิน คาร์บอน ฟุตพริ้นท์. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) พิธีสาร เกียว โต (Kyoto Protocol ). กลุ่มประเทศพัฒนา 41 ประเทศ (Annex I) มีพันธกรณีต้องลด ก๊าซฯ 5%ของปี 1990 ภายในปี 2012. พิธีสาร เกียว โต Kyoto Protocol 2005. กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา
E N D
การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
กลุ่มประเทศพัฒนา 41 ประเทศ (Annex I) มีพันธกรณีต้องลด ก๊าซฯ 5%ของปี 1990 ภายในปี 2012 พิธีสารเกียวโต Kyoto Protocol 2005 กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา 150 ประเทศ (Non-Annex I) ไม่มีพันธกรณีต้องลดก๊าซฯ
แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ให้เกิดการดำเนินโครงการลดก๊าซเรือนกระจกแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ให้เกิดการดำเนินโครงการลดก๊าซเรือนกระจก • ปริมาณสุทธิของก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงได้จากโครงการ CDMตามพิธีสารเกียวโต • มีหน่วยเป็น “ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า/ปี (tCO2e / yr)”
ก๊าซเรือนกระจก ศักยภาพในการทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน อายุคงอยู่ในชั้น (GWP) เทียบกับ CO2 บรรยากาศ คาร์บอนไดออกไซด์CO2GWP: 1200 – 450 ปี มีเทน CH4GWP: 2111 ปี ไนตรัสออกไซด์N2OGWP: 310 120 ปี ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอนHFCsGWP: 140 – 11,7002 – 19 ปี เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน PFCsGWP: 6,500 – 9,200มากกว่า 1,000 ปี ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์SF6GWP: 23,9003,200 ปี
Increasing Greenhouse Gases CO2increasing by 1/3 during 5 decades 280 , 368 , 379 ppm (1.6-1.9 ppm/yr) CH4 increased 2 fold 175 , 1,732 , 1,774 ppb ( 8 ppb/yr) N2O increased by 17% 270 , 316 , 319 ppb (7-13 Mt/yr) ที่มา:IPCC, 2001, 2007
ก๊าซชีวภาพจากฟาร์สุกรก๊าซชีวภาพจากฟาร์สุกร 15,000 – 58,000 tCO2e/Y
โครงการ CDM ก๊าซชีวภาพจาก หลุมฝังกลบขยะ บ.เจริญสมพงษ์ จก. 47,185 – 93,320 tCO2e/y
ก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานแป้งมันสัมปะหลัง27,000 – 349,125 tCO2e/y
EGAT Energy Saving Project โครงการเปลี่ยน หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน 100 ล้านหลอด (1 MtCO2e/y)
ทราบถึงจุดที่มีการปล่อยก๊าซทราบถึงจุดที่มีการปล่อยก๊าซ • ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร • ส่งเสริมให้ผู้ผลิตหรือองค์กรใช้เทคโนโลยีหรือวิธีการผลิตที่ลดปล่อย GHGลง • เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ • ผู้บริโภคสามารถนำข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อ
คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (Product Carbon Footprint) คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Corporate Carbon Footprint)
การประเมินโดยใช้ วัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (LCA)โดยคำนึงถึงวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากกิจกรรมขององค์กรปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากกิจกรรมขององค์กร วัดออกมาในรูป ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า (tCO2eq)
กำหนดขอบเขตขององค์กร • เลือกวิธีการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ที่เหมาะสมที่สุด และกำหนด Scope • ระบุประเภทของก๊าซที่องค์กรปล่อยออกมา • สร้างระบบการตรวจสอบ • เก็บข้อมูลกิจกรรมต่างๆ • จัดทำวิธีการคำนวณและการบ่งชี้การปล่อยก๊าซเรือนกระจก • รายงานผลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Report)
คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรจะมีการเปิดเผยทุกๆปี (ในหน่วยของตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า) • ดำเนินการใดๆก็ตามเพื่อชดเชยปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมา • คาร์บอนฟุตพริ้นท์จะทำให้องค์กรสามารถกำหนดและบริหารจัดการมาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมภายในองค์กรได้ • มีการตรวจสอบ รายงานผล และทวนสอบข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรอย่างต่อเนื่อง
ISO • GHG Protocol • มาตรฐานอื่นๆ • Climate Registry ของทวีปอเมริกาเหนือ • For businesses and governments • To calculate, verify and publicly report their carbon footprints in a single, unified registry • มาตรฐานบริษัท เช่น TUV Nord
หลักการตาม GHG Protocol • การประมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรจะพิจารณาถึง • แหล่งและระดับของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกี่ยวพันกับทั้งการผลิต การบริหารภายในองค์กร • การขนส่งและการเดินทาง • การกำจัดขยะของเสีย • และอื่นๆ ในปีนั้นๆสำหรับแต่ละองค์กรเอง
กำหนดขอบเขตขององค์กร(Organizational Boundaries) • เพื่อ...กำหนดว่าต้องการวัดให้คลุมแค่ไหน • วิธีการควบคุม (Control Approach) นำปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดจากหน่วยย่อยที่บริษัทสามารถควบคุมด้านการเงินหรือการปฏิบัติงานมาทำบัญชี • Financial control • Operational Control • วิธีการปันส่วนกรรมสิทธิ์ (Equity Share Approach)นำส่วนของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากแต่ละหน่วยย่อยต่างๆตามสัดส่วนที่องค์กรมีกรรมสิทธิ์มาทำบัญชี
ประเด็นที่ต้องคำนึงถึงประเด็นที่ต้องคำนึงถึง • จะเลือกขอบเขตแบบไหน • ต้องการ Scopeเท่าไหร่ • Double Counting!!!
กรณีศึกษาของสัดส่วนฟุตพริ้นท์กรณีศึกษาของสัดส่วนฟุตพริ้นท์ • Broadgreen Hospital • 409,554 sq ft NHS facility in Liverpool • Slightly over 1 million tons of carbon emitted in 2003 สัดส่วน Building energy CO2 60.52% Transportation CO2 21.70% Waste CO2 equivalent 9.07% Food miles 6.58% Building embodied energy 1.73% Other greenhouse gas 0.37% Water 0.04% Source: Healthcare Buildings and Climate Change, Malcolm Stroud
การติดตามการปล่อย GHG ตามช่วงเวลา • ตั้งปีฐาน (Base year) • การคำนวณใหม่ หากเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง • ควบรวมกิจการ • ซื้อ/ลงทุน/ขายหน่วยธุรกิจย่อย • ขยายกิจการ
การบ่งชี้ (Identify Source/sink) • เพื่อให้มั่นใจว่า • แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดนำมาคิดครบถ้วน • แหล่งเก็บกักก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดนำมาคิดครบถ้วน • ทำได้โดย • เช็ค เอกสาร (การเงิน บัญชีทรัพย์สิน บัญชีรายจ่าย เป็นต้น) • เดิน ดูไซท์งาน • ถาม พนักงานประจำ
Calculation approach Activity Data (from source) x Emission Factor (EF) GHG Emission (CO2eq/unit) • หน่วย ต้องคูณกันได้ • เช็ค ว่า Source, EF มีก๊าซอื่นๆร่วมด้วยหรือไม่ • ถ้ามี ต้องคูณ GWP เพื่อแปลงเป็น CO2eq ก่อนนำมาบวกกันทั้งหมด
แหล่งที่มาของ EF • IPCC • Thai LCI database • Thai EF for product carbon footprint (TGO guideline) • Ecoinvent • Etc.
ตัวอย่างการคำนวณ (การขนส่ง) • กรณีที่ทราบปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง • ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง • EF ตามชนิดของน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ • กรณีที่ไม่ทราบปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง • ระยะทางทางในการขนส่ง • EF ตามชนิดของยานพาหนะ
ตัวอย่างของการเก็บข้อมูลตัวอย่างของการเก็บข้อมูล • รายละเอียดโดยทั่วไปขององค์กร • รายละเอียดโครงสร้างขององค์กร • ข้อมูลด้านพลังงาน • ข้อมูลสารเคมีที่ใช้ • ข้อมูลการขนส่ง • ข้อมูลกากของเสีย • ข้อมูลรั่วซึมจากอุปกรณ์ต่างๆ ภายในกระบวนการผลิต • ข้อมูลการบำบัดน้ำเสีย
Carbon Footprint กับการสาธารณสุข • ที่ประชุมรมต. กลุ่มอาเซียน ปี 2008 • New Delhi Declaration on the Impacts of Climate Change on Human Health • หนึ่งในประเด็น: การลด Carbon Footprint จากภาคส่วนด้านสุขภาพ • เพื่อ • ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • แสดงตัวอย่างที่ดีและเป็นผู้นำในด้านนี้
จะเริ่มอย่างไร? • กำหนดขอบเขตต่างๆ • เลือกวิธีการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ที่เหมาะสมที่สุด และกำหนด Scope • กำหนดปีฐาน • ทำการคำนวณและการบ่งชี้การปล่อยก๊าซเรือนกระจก • บริหารจัดการด้านคุณภาพ และรายงานผล • ตั้งเป้าหมายเพื่อลดการปล่อย GHG ในอนาคต
การประเมิน Carbon Footprint ผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป carbonfootprint.anamai.moph.go.th