750 likes | 986 Views
Satreesamutprakarn School. Physics 1. ว 30211. Presented By : Mr. Taywan Deejaras. Satreesamutprakarn School. Physics คืออะไร. Presented By : Mr. Taywan Deejaras. Satreesamutprakarn School. Measurement. การวัด. Presented By : Mr. Taywan Deejaras. Measurement.
E N D
Satreesamutprakarn School Physics 1 ว 30211 Presented By : Mr. TaywanDeejaras
Satreesamutprakarn School Physics คืออะไร Presented By : Mr. TaywanDeejaras
Satreesamutprakarn School Measurement การวัด Presented By : Mr. TaywanDeejaras
Measurement • ต้องบอกให้ชัดเจนและแน่นอน ว่า • ใช้เครื่องมืออะไร • ใช้วิธีการวัดอย่างไร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Fundamental Quantities ปริมาณหลักมูล (Fundamental Quantities) เป็นปริมาณขั้นต่ำ ประกอบด้วย Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Derived Quantities ปริมาณอนุพันธ์ (Derived Quantities) เป็นปริมาณที่เกิดจากปริมาณหลักมูลมาประกอบกัน (คูณ หาร) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Analog การอ่านค่าการวัดจากขีดสเกล (Analog) ดินสอยาว 5.05 เซนติเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Analog ดินสอยาว 4.50 เซนติเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Analog ดินสอยาว 5.00 เซนติเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Analog กระแส DC อ่านได้ 4.4 แอมแปร์ Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Analog โวลต์ AC อ่านได้ 112 โวลต์ Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Error การบันทึกค่าผิดพลาด (Error) 1. หากเป็นการวัดเพียงครั้งเดียวของขีดสเกล ค่าความผิดพลาดสามารถหาได้จากการใช้ ค่า Errer จะใช้ค่าครึ่งหนึ่งของสเกลละเอียดสุด (least count หรือ สเกลที่เล็กที่สุด) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Error ไม้บรรทัดมีความละเอียดสุด 0.1 cm หรือ 1 mm ดินสอยาว 5.050.05 เซนติเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Error แอมมิเตอร์นี้มีความละเอียดของสเกล .........แอมแปร์ 0.2 กระแสที่อ่านได้ 4.4 แอมแปร์ หรือ 4.4 0.1 แอมแปร์ ถ้ามีการประมาณค่า Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
2. หากเป็นการวัดครั้งเดียวจากอุปกรณ์ที่ใช้ทำการวัดแสดงค่าเป็นตัวเลขดิจิตอล เช่น มัลติมิเตอร์ดิจิตอลหรือนาฬิกา จับเวลาดิจิตอล ค่าต่างๆ ที่วัดได้ จะมีค่าความคลาดเคลื่อนที่ตำแหน่งทศนิยมตำแหน่งสุดท้าย Error โวลต์มิเตอร์แบบดิจิตอล วัดความต่างศักย์ได้ = 102 volt ควรบันทึกเป็น V = 102 1 volt นาฬิกาดิจิตอลจับเวลาการตกของวัตถุจากที่สูงได้เวลา เป็น 11.40s ควรบันทึกเป็น t = 11.40 0.01 s Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
3. หากเป็นการวัดซ้ำกันหลาย ๆ ครั้ง จะใช้วิธีการทางสถิติวิเคราะห์มาคำนวณหาค่าความผิดพลาดออกมา เช่น จับเวลาการแกว่งของลูกตุ้ม 10 รอบซ้ำกันจำนวน 4 ครั้ง ได้ผลดังตาราง Error Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Error ค่าเฉลี่ยของเวลาของการแกว่งลูกตุ้มจำนวน 10 รอบคือ ความผิดพลาดของการทดลองซ้ำกันแบบนี้ สามารถหาได้ จากการคำนวณหาเฉลี่ยของผลต่างแต่ละค่ากับค่าเฉลี่ยในการวัด อย่างในกรณีนี้เราสามารถคำนวณหาค่าเฉลี่ยของผลต่างแต่ละค่ากับค่าเฉลี่ยในการวัดของเวลาในการแกว่างลูกตุ้ม 10 รอบได้เป็น........ Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Error ดังนั้น คาบของการแกว่งของลูกตุ้มพร้อมค่าความผิดพลาด(Error) คือ วินาที Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพันธ์มากหรือน้อยเกินไป เราจะเขียนค่านั้นเป็นตัวเลขคูณด้วยตัวพหุคูณ (เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ) อักษรที่เขียนแทน ตัวพหุคูณ คือ คำอุปสรรค Prefixes คำอุปสรรค(Prefixes) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Prefixes คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
ให้นำคำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ Prefixes การเปลี่ยนคำอุปสรรค หน่วยใดที่ไม่มีคำอุปสรรคนำหน้า ให้แทนเป็น 100 Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
ลองคิดดูมวลขนาด 0.4 มิลลิกรัมมีขนาดกี่กิโลกรัม Prefixes คำอุปสรรคเก่า มิลลิ = 10 -3 คำอุปสรรคใหม่ กิโล = 10 3 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 -3 = = 10-6 10 3 ตอบ 0.4 x 10 -6 กิโลกรัม Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
ลองคิดดูความยาวของโต๊ะวัดได้ 2.7 เมตร มีขนาดกี่ไมโครเมตร Prefixes คำอุปสรรคเก่า ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคใหม่ ไมโคร = 10 -6 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 0 = 10 -6 = 106 ตอบ 2.7 x 10 6 ไมโครเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
ลองคิดดูพื้นที่ 30 ตารางมิลลิเมตร เป็นกี่ตารางเมตร Prefixes คำอุปสรรคเก่า ตารางมิลลิ = 10 -6 คำอุปสรรคใหม่ ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 -6 = 10 0 = 10-6 ตอบ 30 x 10 -6 ตารางเมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
ลองคิดดู ความหนาแน่นน้ำมัน 0.8 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นกี่กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร Prefixes เปลี่ยนหน่วยตัวเศษ คำอุปสรรคเก่า ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคใหม่ กิโล = 10 3 10 0 = คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ 10 3 = 10-3 Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Prefixes เปลี่ยนหน่วยตัวส่วน คำอุปสรรคเก่า ลูกบาศก์เซนติ = 10 -6 คำอุปสรรคใหม่ ไม่มี = 10 0 คำอุปสรรคเก่าส่วนด้วยคำอุปสรรคใหม่ = 10-6 10 -6 10 -3 = 10 3 10 -6 จะได้ค่าความหนาแน่น= 0.8 x = 0.8x103 ตอบ 0.8 x 10 3 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Physics Graph กราฟในวิชาฟิสิกส์ (Physics Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นของ x และ y คือ x และ y มีกำลังหนึ่งทั้งคู่ ลักษณะของสมการกราฟเส้นตรงคือ y = mx + c เมื่อ m คือค่าความชันกราฟ c คือจุดตัดกราฟบนแกน y Linear Graph กราฟเส้นตรง (Linear Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Linear Graph รูปแบบที่ 1 y รูปสมการ y = mx x แสดงว่าตัวแปร y แปรผันตามตัวแปร x ความชันกราฟเป็น + เช่น s = vt Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Linear Graph รูปแบบที่ 2 y รูปสมการ y = mx + c c x ความชันกราฟเป็น + เช่น v = at + u Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Linear Graph รูปแบบที่ 3 y x รูปสมการ y = mx - c - c ความชันกราฟเป็น + เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Linear Graph ความชันของกราฟขึ้นอยู่กับความยาวระหว่างแกน x และ y ซึ่งพิจารณาจาก ความชัน หรือ ความชันหาได้จาก tan Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
เป็นกราฟ ที่แสดงความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณที่ปริมาณหนึ่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอีกปริมาณหนึ่งยกกำลังสอง Parabola Graph กราฟพาราโบลา (Parabola Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Parabola Graph ความชัน = a/2 เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Parabola Graph เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ในลักษณะที่ปริมาณหนึ่งแปรผกผันกับอีกปริมาณหนึ่ง โดยปริมาณทั้งสองเป็นกำลังหนึ่งทั้งคู่หรือปริมาณหนึ่งกำลังสอง หรือ สามก็ได้ Hyperbola Graph กราฟไฮเปอร์โบลา (Hyperbola Graph) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Hyperbola Graph หรือ เช่น Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Satreesamutprakarn School Any Question For Measurement ?? Presented By : Mr. TaywanDeejaras
Satreesamutprakarn School Vector… เวกเตอร์ Presented By : Mr. TaywanDeejaras
เวกเตอร์ (Vector) Vector ปริมาณเวกเตอร์(Vector Quantity) คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง แต่ถ้าปริมาณที่มีแต่ขนาดอย่างเดียว เรียกว่า ปริมาณสเกลาร์ (Scalar Quantity) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
การรวมเวกเตอร์ (Addition of Vectors) Addition of Vectors เวกเตอร์จะบวก หรือ ลบ กันได้จะต้องเป็นเวกเตอร์พวกเดียวกัน เช่น เวกเตอร์แรงบวกหรือลบกับเวกเตอร์แรง แต่เวกเตอร์แรงบวกหรือลบกับเวกเตอร์ความเร็วไม่ได้ เราเรียกผลลัพธ์ที่ได้จากการรวมเวกเตอร์ว่า เวกเตอร์ลัพธ์ (Resultant Vector) Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
การรวมเวกเตอร์โดยการสร้างรูปการรวมเวกเตอร์โดยการสร้างรูป แบบหางต่อหัว กำหนดจุดเริ่มต้นเขียนเวกเตอร์ตัวแรกโดยให้หางลูกศรอยู่ที่จุดเริ่มต้น แล้วเขียนเวกเตอร์ต่อไปโดยให้หางเวกเตอร์ต่อไปนำไปต่อหัวเวกเตอร์ตัวแรก ทำเช่นนี้จนหมดทุกตัวแล้วให้ลากลูกศรจากเวกเตอร์แรกเข้าหาปลายเวกเตอร์สุดท้าย เวกเตอร์ที่ลากนี้จะเป็นผลรวมของเวกเตอร์ทั้งหมด ซึ่งเรียกว่า เวกเตอร์ลัพธ์ (Resultant Vector) Addition of Vectors by Drawing Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Addition of Vectors by Drawing R Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
แบบหางต่อหาง นำหางเวกเตอร์มาชนกัน แล้วสร้างเงาของเวกเตอร์แต่ละตัว จะได้เวกเตอร์ลัพธ์ในแนวเส้นทแยงมุมจากจุดหางชนหางไปยังหัวชนหัว Addition of Vectors by Drawing Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
Addition of Vectors by Drawing R Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
ลองคิดดูกำหนดให้เวกเตอร์ A, B และ C เป็น ดังรูป จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ต่อไปนี้ C -C 30o 30o Addition of Vectors by Drawing B A -A -B Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
A+B Addition of Vectors by Drawing หางต่อหัว B+A A R B B R A A+B = B+A YES Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
A+B และ Addition of Vectors by Drawing หางต่อหาง B+A A R B Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
A-B= A+(-B) Addition of Vectors by Drawing B-A= B+(-A) R R B - B A - A A-B= B-A NO A-B= - (B-A) YES Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School
A+B+C Addition of Vectors by Drawing R A B C 30o Mr.TaywanDeejaras : Satreesamutprakarn School