180 likes | 212 Views
THE4404 คติ ชน วิทยาสำหรับครู. อ.กฤติกา ผลเกิด. ประเภทของคติชนวิทยา. แจน แฮโรลด์ บรุนแวนด์ ได้จำแนกข้อมูลคติชนออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ คติชนที่ใช้ถ้อยคำ ( verbal folklore) คติชนที่ไม่ใช้ถ้อยคำ ( non-verbal folklore ) คติ ชนแบบผสม ( Partly verbal folklore).
E N D
THE4404 คติชนวิทยาสำหรับครู อ.กฤติกา ผลเกิด
ประเภทของคติชนวิทยา • แจน แฮโรลด์ บรุนแวนด์ ได้จำแนกข้อมูลคติชนออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ • คติชนที่ใช้ถ้อยคำ (verbal folklore) • คติชนที่ไม่ใช้ถ้อยคำ(non-verbal folklore) • คติชนแบบผสม (Partly verbal folklore)
คติชนที่ใช้ถ้อยคำ (Verbal folklore) • คำพูด/ภาษาถิ่น/การตั้งชื่อ (folk speech, dialect, naming) • สุภาษิต (folk proverb) • ปริศนาคำทาย (folk riddles) • บทประพันธ์ที่มีสัมผัส (folk rhymes) • เรื่องเล่า (narratives) • เพลงพื้นบ้าน (folk song)
คติชนที่ไม่ใช้ถ้อยคำ(non-verbal folklore) • สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน (folk architecture) • ศิลปะพื้นบ้าน (folk art) • งานหัตถกรรม (folk craft) • การแต่งกาย (folk costumes) • อาหารพื้นบ้าน (folk food) • การแสดงท่าทาง (folk gesture) • ดนตรีพื้นบ้าน (folk music)
คติชนแบบผสม (Partly verbal folklore) • ความเชื่อและคติในเรื่องโชคลาง (belief and superstition) • การละเล่นพื้นบ้าน (folk game) • ละครพื้นบ้าน (folk drama) • การร่ายรำพื้นบ้าน (folk dance) • ขนบธรรมเนียมพื้นบ้าน (folk custom) • งานรื่นเริงพื้นบ้าน (folk festival)
บรุนแวนด์ กล่าว่า การจำแนกประเภทข้อมูลของเขานั้น ยึดข้อมูลของชาวอเมริกันเป็นหลัก ซึ่งบางประเภทอาจคาบเกี่ยวกัน แต่การแบ่งลักษณะนี้มุ่งเน้นถึงส่วนประกอบต่าง ๆ ที่เป็นคติชน
การจำแนกประเภทข้อมูลคติชนการจำแนกประเภทข้อมูลคติชน ริชาร์ด เอ็ม. ดอร์สัน นักคติชนวิทยาที่สนับสนุนการศึกษาวิถีชีวิต (folklife) และได้จำแนกประเภทข้อมูลคติชนในเรื่อง The Fields of Folklore and Folklife Studies ดังนี้ • วรรณกรรมมุขปาฐะ • วัฒนธรรมวัตถุ • ประเพณีสังคมพื้นบ้าน • การแสดงศิลปะพื้นบ้าน
วรรณกรรมมุขปาฐะ (Oral literature) • เรื่องเล่าพื้นบ้าน (folk narrative) • เพลงพื้นบ้าน / กวีนิพนธ์ / บทประพันธ์ที่มีสัมผัส (folk song / folk poetry / rhyme) • เกร็ด (anecdote) • นิยายผจญภัยหรือเรื่องจินตนาการ (romance) • มหากาพย์ (epic) • สุภาษิต/ปริศนา (proverb / riddle) • คำกล่าว/คำพูดพื้นบ้าน (folk speech)
วัฒนธรรมวัตถุ(Material culture) • วัฒนธรรมวัตถุ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะของคติชนที่มองเห็นได้ ซึ่งคงอยู่มาก่อนสังคมอุตสาหกรรม เช่น การสร้างบ้านเรือน การเตรียมอาหาร การประดิษฐ์เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ประเพณีสังคมพื้นบ้าน (Social folk custom) • ประเพณีสังคมพื้นบ้านคือ การใช้ชีวิตตามประเพณีที่ถ่ายทอดมา และเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรม เช่น การเกิด การแต่งงาน การตาย รวมทั้งความเชื่อและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ
การแสดงศิลปะพื้นบ้าน (Performing folk arts) • การร่ายรำ การละคร การแสดงพื้นบ้านต่างๆ • นักคติชนวิทยา ถือว่า การเล่านิทานและการว่าเพลงพื้นบ้านจัดอยู่ในประเภทนี้ด้วย
การจำแนกประเภทข้อมูลคติชนวิทยาของ กิ่งแก้ว อัตถากร
แนวคิดและวิธีการศึกษาคติชนวิทยาแนวคิดและวิธีการศึกษาคติชนวิทยา • ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับศาสตร์อื่น • บทบาทหน้าที่ของคติชน • การศึกษาวรรณกรรมมุขปาฐะ • การศึกษาวัฒนธรรมวัตถุ • การศึกษาประเพณีสังคมพื้นบ้าน • การศึกษาศิลปะการแสดงพื้นบ้าน • การศึกษาเพลงพื้นบ้าน