270 likes | 343 Views
การศึกษาการใช้เข็มขัดนิรภัย. และผลกระทบจากการใช้. ในประเทศไทย. ณัฐพงศ์ บุญตอบ ผู้ช่วยนักวิจัย. ศาสตราจารย์ ยอดพล ธนาบริบูรณ์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย. ทำไมถึงต้องมีการศึกษา. การใช้เข็มขัดนิรภัย. ปัญหา. อุบัติเหตุทางถนนจัดเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของคนไทยในปัจจุบัน.
E N D
การศึกษาการใช้เข็มขัดนิรภัยการศึกษาการใช้เข็มขัดนิรภัย และผลกระทบจากการใช้ ในประเทศไทย ณัฐพงศ์ บุญตอบ ผู้ช่วยนักวิจัย ศาสตราจารย์ ยอดพล ธนาบริบูรณ์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
ทำไมถึงต้องมีการศึกษาทำไมถึงต้องมีการศึกษา การใช้เข็มขัดนิรภัย
ปัญหา • อุบัติเหตุทางถนนจัดเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ของการเสียชีวิตของคนไทยในปัจจุบัน ที่มา: กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
20,000 15,000 10,000 5,000 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 ปัญหา • จากจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน โดยเฉลี่ยประมาณ 14,000 รายต่อปี • คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียประมาณ 69,656 ล้านบาท ต่อปี • หรือคิดเป็น 2.23 เปอร์เซ็นต์ ของรายได้ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ที่มา: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ความสูญเสียทางเศรษฐกิจเนื่องจากอุบัติภัยจราจร
20,000 15,000 10,000 5,000 2544 2545 2546 2547 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 ปัญหา • สถิติการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุทางถนน พบว่ายังมีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แนวโน้มผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ที่มา: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ปัญหา • การเสียชีวิตเนื่อง รถยนต์ เป็นสาเหตุ อันดับ 2 รองจากรถจักรยานยนต์ จำนวนผู้เสียชีวิตจากยานพาหนะประเภทต่างๆ 5000 10000 15000 20000 ที่มา: ข้อมูล IS 28 โรงพยาบาล ระหว่างปี 2542 - 2546
100 80 60 40 20 ภูเก็ต ชลบุรี พิจิตร ลำปาง สงขลา ปทุมธานี ขอนแก่น เชียงใหม่ เพชรบรูณ์ นครสวรรค์ ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา ปัญหา • อัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยในประเทศไทยยังมีอัตราการใช้น้อยเมื่อเปรียบเทียบกับต่างประเทศ • ในปี 2547 เฉลี่ยอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยมีเพียง ร้อยละ 69 ที่มา:Report of Seat Belt and Helmet Use, Road Safety in Thailand Report 2004
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยวัตถุประสงค์ของงานวิจัย • เพื่อศึกษาหาอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยของผู้ใช้รถยนต์ • เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยของผู้ใช้รถยนต์
ขอบเขตของงานวิจัย เชียงใหม่ อยุธยา ขอนแก่น ปทุมธานี นครปฐม สระบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบุรี กรุงเทพมหานคร
ขอบเขตของงานวิจัย • การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการสังเกตุ • การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการใช้แบบสอบถาม
ขอบเขตของงานวิจัย • การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการสังเกตุ • การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยด้วยการใช้แบบสอบถาม
การสำรวจ การใช้เข็มขัดนิรภัย
การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยการสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัย จุดที่ใช้ในการสำรวจ แยกไฟแดง ถนน ปั๊มน้ำมัน
การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยการสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัย
การสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัยการสำรวจการใช้เข็มขัดนิรภัย • วิเคราะห์หาอัตราการใช้เข็มขัดนิรภัยแยกตามปัจจัยต่าง ได้แก่ • เพศ • ประเภทของรถยนต์ • ตำแหน่งที่นั่ง
ผลการสำรวจ การใช้เข็มขัดนิรภัย
60 40 ใช้ 20 ไม่ใช้ สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย • จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า จากภาพรวมทั้งหมดพบว่า มีจำนวนผู้ใช้ 8,547 คน ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนใช้ ร้อยละ 55 ของจำนวนทั้งหมด
60 รถยนต์ส่วนบุคคล รถปิคอัพ 40 ใช้ 20 ไม่ใช้ สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย • จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า รถยนต์ส่วนบุคคล มีสัดส่วนใช้ ร้อยละ 64 และ รถปิคอัพมีสัดส่วนใช้ ร้อยละ 49
60 ชาย หญิง 40 ใช้ 20 ไม่ใช้ สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย • จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า เพศชายมีสัดส่วนการใช้ร้อยละ 58และเพศหญิงมีสัดส่วนการใช้ร้อยละ 47
100 80 60 40 20 คนขับ ผู้โดยสารตอนหน้า ผู้โดยสารตอนหลัง ใช้ ไม่ใช้ สัดส่วนการใช้เข็มขัดนิรภัย • จากจำนวนรถยนต์ 10,098 คัน ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ 15,609 คน พบว่า คนขับมีสัดส่วนใช้ ร้อยละ 63 และ รองลงมาเป็น ผู้โดยสารตอนหน้า และ ผู้โดยสารตอนหลัง ซึ่งมีสัดส่วนการใช้ ร้อยละ 47 และ ร้อยละ 9 ตามลำดับ
ปัจจัยที่มีอิทธิพล การใช้เข็มขัดนิรภัย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ • เลือกปัจจัยต่างๆ ที่สำคัญ ที่อาจจะมีผลต่อการใช้เข็มขัดนิรภัย ได้แก่
ผลการศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การใช้เข็มขัดนิรภัย
ผลการวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูล ตำแหน่งที่นั่ง ปัจจัยต่างๆ ระยะเวลาในการเดินทาง การใช้เข็มขัดนิรภัยเมื่อขับในความเร็วต่ำ ความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพของเข็มขัดนิรภัย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ • จากผู้ใช้รถยนต์จำนวน 1,968 ราย
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ • การใช้เข็มขัดนิรภัยในประเทศไทย ยังมีอัตราการใช้ที่น้อย เมื่อเปรียบเทียบ ในต่างประเทศ • การใช้เข็มขัดนิรภัยในตำแหน่งที่นั่งด้านหลังยังมีอัตราการใช้ที่น้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับตำแหน่งที่นั่งอื่นๆ • ตำแหน่งที่นั่งถือว่าเป็นอีกปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการใช้เข็มขัดนิรภัย ดังนั้น หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ควรมีการพิจรณาในเรื่องของการบังคับใช้เข็มขัดนิรภัย โดยเฉพาะในตำแหน่งที่นั่งด้านหลัง • ผู้ใช้รถยนต์ควรตระหนัก และคำนึงถึงความสำคัญของการใช้เข็มขัดนิรภัย ว่าเป็นอุปกรณ์ที่สามารถช่วยลดความรุนแรงของการบาดเจ็บจากการเกิดอุบัติเหตุให้น้อยลงได้
“ผู้ขับขี่กระเด็นออกจากตัวถังรถจะเสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากกว่าการไม่ กระเด็นออกไปถึง 6 เท่า” “เข็มขัดนิรภัยเป็นเครื่องมือที่ช่วยชีวิตคนมานักต่อนัก เพราะจะช่วยรั้งตัวเราไว้ไม่ให้ไปกระแทกกับพวกมาลัยหรือขอบหน้ารถในช่วงเวลาเพียงแวบเดียวที่เกิดอุบัติเหตุนั่นเอง” http://www.thaiparents.com/safetybt.html http://www.matichon.co.th/youth/youth.php?tagsub=031104&tag950=03you20230939&show=1
“เดินทางใกล้หรือไกล คาดเข็มขัดนิรภัยปลอดภัยกว่า” ขอบคุณครับ ที่มา: สถาบันการแพทย์ด้านอุบัติเหตุและสาธารณภัย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข