200 likes | 391 Views
นโยบายการปรับโครงสร้างราคาก๊าซปิโตรเลียมเหลว ( LPG ). นายเมตตา บันเทิงสุข รองปลัดกระทรวงพลังงาน. 30 มิถุนายน 255 4. 1. โครงสร้างราคาปัจจุบัน ของ LPG กับน้ำมันเบนซิน น้ำมันเตา และ NGV. หัวข้อบรรยาย. 2. ภาระชดเชยจากกองทุนน้ำมันในปัจจุบัน. 3. นโยบายราคา LPG ของรัฐบาล. 4. การวิเคราะห์
E N D
นโยบายการปรับโครงสร้างราคาก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) นายเมตตา บันเทิงสุข รองปลัดกระทรวงพลังงาน 30 มิถุนายน 2554
1. โครงสร้างราคาปัจจุบัน ของ LPG กับน้ำมันเบนซิน น้ำมันเตา และ NGV หัวข้อบรรยาย 2. ภาระชดเชยจากกองทุนน้ำมันในปัจจุบัน 3. นโยบายราคา LPG ของรัฐบาล 4. การวิเคราะห์ 4.1 ถ้าไม่ทำอะไรเลย 4.2 ถ้าลอยตัวทั้งหมด 4.3 ถ้าลอยตัวเฉพาะจุด 4.4 ถ้าลอยตัว ขนส่ง + อุตสาหกรรม ไม่ลอยหุงต้ม 5. ทางเลือกของนโยบาย
1. โครงสร้างราคาน้ำมันเชื้อเพลิงปัจจุบัน
บาท/ล้านบีทียู 1. โครงสร้างราคาน้ำมันเชื้อเพลิงปัจจุบัน
ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง 1. โครงสร้างราคาน้ำมันเชื้อเพลิงปัจจุบัน
ปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง พันล้านบีทียู/วัน 1. โครงสร้างราคาน้ำมันเชื้อเพลิงปัจจุบัน
สภาพคล่องกองทุนน้ำมันสภาพคล่องกองทุนน้ำมัน 2. ภาระชดเชยจากกองทุนน้ำมัน
นโยบายราคา LPG ปัจจุบัน 2. ภาระชดเชยจากกองทุนน้ำมัน • รัฐกำหนดราคาขายส่งไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ที่ 13.68 บาท/กก. รวมค่าการตลาดกับภาษีมูลค่าเพิ่มทำให้ราคาขายปลีกอยู่ประมาณ 18.13 บาท/กก. • รัฐกำหนดราคาให้ผู้ผลิตจำหน่าย 333 เหรียญ/ตัน หรือประมาณ 10 บาท/กก.
ต้นทุนในการผลิต LPG • ต้นทุนโรงแยกก๊าซอยู่ที่ประมาณ 450 เหรียญ/ตันรัฐไม่จ่ายชดเชยทำให้ผู้ผลิตรับภาระประมาณ 117 เหรียญ/ตัน หรือประมาณ 3.50 บาท/กก. • ต้นทุนโรงกลั่นอยู่ที่ประมาณราคา 750 เหรียญ/ตันคำนวณจากราคา CP ร้อยละ 76 กับราคา ณ โรงกลั่นร้อยละ 24 ซึ่งรัฐจ่ายชดเชยประมาณ 417 เหรียญ/ตันหรือประมาณ 12.70 บาท/กก. • ต้นทุนนำเข้าอยู่ที่ประมาณราคา 933 เหรียญ/ตันจากราคา CP ซึ่งรัฐจ่ายชดเชยประมาณ 600 เหรียญ/ตัน หรือประมาณ 18.30 บาท/กก. 2. ภาระชดเชยจากกองทุนน้ำมัน
เปรียบเทียบราคา LPG ตลาดโลกกับราคารัฐกำหนด 2. ภาระชดเชยจากกองทุนน้ำมัน
เปรียบเทียบราคา LPG กับประเทศเพื่อนบ้าน 2. ภาระชดเชยจากกองทุนน้ำมัน
3. นโยบายราคา LPG • ให้ขยายระยะเวลาการตรึงราคาขายปลีกก๊าซ LPG ในภาคครัวเรือนและขนส่ง จากสิ้น มิ.ย. 54 ไปจนถึง ก.ย. 54 • ให้ทยอยปรับราคาขายปลีกก๊าซ LPG ในภาคอุตสาหกรรมให้สะท้อนต้นทุนโรงกลั่นน้ำมัน ตั้งแต่ ก.ค. 54 เป็นต้นไป โดยปรับราคาขายปลีกไตรมาสละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้งๆละ 3 บาท/กก. นโยบายปัจจุบันของกระทรวงพลังงาน (มติ ครม. 3 พฤษภาคม 2554)
โครงสร้างราคา LPG ตามมติ ครม. 3. นโยบายราคา LPG
นโยบายราคา LPG ของพรรคการเมือง • พรรคประชาธิปัตย์ - บริหารราคาน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อให้ราคาสะท้องถึงต้นทุนและราคา ที่เปลี่ยนแปลงไปตามกลไกตลาด - ปรับปรุงโครงสร้างราคาขายก๊าซธรรมชาติ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว • พรรคเพื่อไทย - การดูแลราคาน้ำมันดีเซลและก๊าซ LPG อย่างเหมาะสมและสร้าง ระบบต่อท่อส่งก๊าซ เพื่อใช้เป็นแก๊สหุงต้มในครัวเรือนในระยะยาว • พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน - ตรึงราคา LPG ที่ใช้ในครัวเรือนที่ 18.13 บาทต่อ กก. (ราคาส่ง ณ โรงแยกก๊าซ) โดยใช้กลไกของกองทุนน้ำมันประมาณ 3,000 ล้าน บาทต่อเดือนในการชดเชย และยังส่งเสริมให้ครัวเรือนใช้เตาแก๊ส หุงต้มที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น เตาเบอร์ 5 เป็นต้น และเพิ่มปริมาณ สำรอง LPG ให้เพียงพอในทุกภูมิภาค 3. นโยบายราคา LPG
- กองทุนน้ำมันไม่สามารถแบกรับภาระได้ หนี้สิน 4. การวิเคราะห์ • การลักลอบส่งออกไปประเทศเพื่อนบ้านค่าใช้จ่ายในการ • ปราบปราม 4.1 ถ้าตรึงราคาต่อไปทั้งหมด • มีการลงทุนเพิ่ม โดยไม่จำเป็น ท่าเรือ/ถังเก็บ/ • รถบรรทุก/ปั๊มก๊าซ - ไม่เป็นธรรมต่อผู้ใช้น้ำมันเบนซิน เงินเก็บเข้ากองทุน - เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมแก๊สโซฮอลและ NGV
4. การวิเคราะห์ - ระยะยาว NGV จะติดกับราคา Subsidy - เพิ่มการพึ่งพาการนำเข้า/ลดความมั่นคงของประเทศ - ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของกองทุนที่จะชดเชยระยะยาว 4.1 ถ้าตรึงราคาต่อไปทั้งหมด - โรงกลั่นมีเบนซินเกิน ต้นทุนประเทศ
- สินค้าที่เกี่ยวข้องกับ LPG ราคาสูงขึ้นโดยเฉพาะอาหาร - ค่าครองชีพสูงขึ้น 4. การวิเคราะห์ - ค่าแท็กซี่ LPG ต่อต้าน ติดตั้ง NGV ฟรี - ส่งเสริมแก๊สโซฮอล และ NGV ได้เต็มที่ - ราคาน้ำมันเบนซินลดลง - การลักลอบส่งออกสิ้นสุดลง 4.2 ถ้าลอยตัวทั้งหมด - การนำเข้า LPG ลดลง - การลงทุนใน LPG ที่ไม่จำเป็นลดลง 4.3 ถ้าลอยตัวเฉพาะอุตสาหกรรม 4.4 ถ้าลอยตัวเฉพาะขนส่งและอุตสาหกรรม
ตรึงราคา LPG ทั้งหมด • ตรึงราคาบางส่วน 5.2 การจัดการด้านDemand(Demand Side Management) 5. ทางเลือกของนโยบาย • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ LPG • การเปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงอื่น 5.3 การช่วยเหลือด้านDemand(Demand Side Subsidy) • การทยอยปรับราคา/ลดผลกระทบ • การช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยเป็นพิเศษ • การเปลี่ยนไปช่วยเหลือทางอื่นแทน 5.1 การช่วยเหลือด้าน Supply (Supply Side Subsidy) 5.4 ข้อดีของการช่วยเหลือด้าน Supply 5.4 ข้อดีของการช่วยเหลือด้าน Demand 5.4 ผลกระทบทางการเมืองต่อรัฐบาล