1 / 25

สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์. 29 พฤศจิกายน 2556. การลงแพ้ยา. การลงแพ้ยามี 2 หน้าจอ 1. หน้าจอเวชระเบียน : ขึ้น Pop up แจ้งเตือน แต่สามารถสั่งใช้ยาได้ 2. หน้าจอห้องยา : ขึ้น Pop up แจ้งเตือน และห้ามสั่งใช้ยาได้. การลงแพ้ยา.

plato-olsen
Download Presentation

สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ 29 พฤศจิกายน 2556

  2. การลงแพ้ยา • การลงแพ้ยามี 2 หน้าจอ 1. หน้าจอเวชระเบียน : ขึ้น Pop up แจ้งเตือน แต่สามารถสั่งใช้ยาได้ 2. หน้าจอห้องยา : ขึ้น Pop up แจ้งเตือน และห้ามสั่งใช้ยาได้

  3. การลงแพ้ยา • รายการยาที่มีใน รพ. จะต้องใช้ชื่อ Generic เดียวกันในทุกตัวยา ทั้งยาเดี่ยวและยาผสม ในทุก Dosage form • ยาที่ Inactive ให้ลบข้อมูล (ภญ.สุธาลินี) • ฐานข้อมูลแพ้ยา (8,000 ราย) ให้ทบทวน (ภญ.สุชีรา)

  4. การลงแพ้ยา • จัดทำ ADR group : รอนำเสนอ MSO (ภญ.นริศรา) • หน้าจอแพ้ยา : ไม่ต้องลงข้อมูลทุกช่อง ก็สามารถบันทึกข้อมูลได้

  5. กลุ่มยา POP-UP • Fluoroquinolone • Norfloxacin • Ofloxacin • Ciprofloxacin • Levofloxacin Penicillin • Amoxycillin • Amoxycillin+Clavulanic acid • Ampicillin • Ampicillin+Sulbactam • Benzathine Penicillin G • Cloxacillin • Dicloxacillin • Penicillin G sodium • Penicllin V • Piperacillin+Tazobactam • Aromatic anticonvulsants • Phenytoin • Carbamazepine • Phenobarbital

  6. กลุ่มยา POP-UP • Aspirin • Aspirin • Aspirin+Clopidogrel • Aspirin+Dipyridamole • Bismuth subsalicylate • Cephalosporin • R1: Amoxicillin, Ampicillin, Cephalexin • R1: Cefotaxime, Ceftriaxone • R2: Cefdinir, Cefixime • Structure • Arylpropionic acids: Ibuprofen, Naproxen, Loxoprofen, Nimesulide • Anthranilic acids: Mefenamic acid, Floctafenine • Specific COX-II inhibitors: Celecoxib, Etoricoxib, Parecoxib

  7. กลุ่มยา POP-UP • NSAIDs • Pseudoallergy • +/- Paracetamol • Aspirin (Aspirin+Clopidogrel, Aspirin+Dipyridamole, Bismuth subsalicylate) • Ibuprofen • Diclofenac • Indomethacin • Mefenamic acid • Floctafenine • Loxoprofen • Nimesulide • Naproxen • Sulfa • Sulfamethoxazole+Trimethoprim • Silver sulfadiazine (Flamazine) • Sulfadiazine • Sulfasalazine • Sulfinpyrazone

  8. การลงแพ้ยา • กรณีผูกแพ้ยาแบบกลุ่ม และ Pop up : จะใช้เครื่องหมาย “ * ” ในยาที่แพ้ • ส่วนยาที่ผูกกลุ่มจะไม่มี “ * ” **Norfloxacin** - MP rash Ciprofloxacin – MP rash Levofloxacin – MP rash

  9. การลงแพ้ยา • การผูกกลุ่มแพ้ยา : จะห้ามการสั่งใช้ยาทั้งกลุ่มยา • หากแพทย์ ยืนยันการสั่งใช้ยา ต้องประสานผู้มีรหัสปลดล๊อค (ภญ.นริศรา-263, ภญ.สุชีรา-287, ภญ.มัชมน-263)

  10. การลงแพ้ยา • หน้าจอเวชระเบียนได้ทำการลงประวัติไปแล้ว 35% (หมวด ก – ธ) • หน้าจอห้องยา เริ่มลง น – ฮ ก่อน • Pop up แจ้งเตือนแพ้ยา จะดึงข้อมูลจากหน้าจอห้องยาก่อน

  11. ขั้นตอนการลงแพ้ยา • ข้อเสนอ : อาสาสมัครหน่วยงานละ 1 คน ยกเว้น OPD 2 คน • รวมทั้งหมด 9 คน

  12. การคิด P4P ลงประวัติแพ้ยา • หน้าจอเวชระเบียน : ราย x 3 x 1 • หน้าจอห้องยา : ราย x (10-15) x 1.25 (ข้อเสนอ)  • ยังไม่ได้ข้อสรุป รอเก็บเวลาจริงและนำมาเฉลี่ย

  13. Drug Interaction (DI) • ทบทวนคู่ยา DI 4 คู่กลุ่มยา (รอนำเสนอ MSO) • คู่ DI เดิมที่ขึ้นอยู่ปัจจุบัน(ของปัตตานี) ลบทิ้งทั้งหมด

  14. Fatal DI - PDE-inhibitor + Nitrate >> 5 คู่

  15. Non-Fatal DI Warfarin + NSIADs >> 11 คู่

  16. Non-Fatal DI Ergot derivatives + PIs,NNRTIs >> 8 คู่ Thioridazine + Fluoxetine >> 1 คู่

  17. Drug Interaction (DI) • การสั่งใช้คู่ Fatal DI >> บันทึกข้อมูลไม่ได้ ต้องปลคล็อคเหมือนแพ้ยา • การสั่งใช้คู่ Non-fatal DI >> บันทึกข้อมูลได้ พร้อมออกฉลากเตือน DI

  18. Drug Interaction (DI)

  19. Drug Interaction (DI) • Model รพ.นราธิวาส • IPD >> เภสัชกรติดตาม DI ที่หอผู้ป่วย • OPD >> counseling เมื่อจ่ายยา

  20. Drug Interaction (DI) • การติดตาม DI ผู้ป่วยใน • งานบริบาลฯ >> รับผิดชอบ 4 ward (อายุรกรรมชาย-หญิง, ศัลยกรรมชาย, จส.สามัญ) • IPD1 & IPD2 >> ตาม ward รับผิดชอบ

  21. Drug Interaction (DI) • ขั้นตอนการทำ DI • เภสัชกรพบแพทย์สั่งคู่ยาที่กำหนด >> consult + F/U monitor • บันทึกข้อมูล ส่งสรุป ภญ.ศรีสมร ทุกวันที่ 5 ของเดือน

  22. Drug Interaction (DI) • Note: • IPD >> ครอบคลุมตลอดการ Admit • OPD >> เฉพาะในใบสั่งยาเดียวกัน

  23. Drug Interaction (DI) การคิด P4P • บันทึก DI >> ราย x 2 x1 • OPD counseling >> ราย x 10 x 1.5 (เทคนิคพิเศษ) • ติดตาม DI ที่ ward >> ราย x 15 x1.25 (DUE ATB) >> ราย x 7 x 2 (case F/U บริบาล) เฉพาะ การติดตาม DI ที่ ward ยังไม่ได้ข้อสรุป

More Related