70 likes | 327 Views
ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ญ.จริยา เกษมสันต์ ณ อยุธยา ม.1/14 เลขที่ 6 ด.ช.ชาคร อุสาหะ ม.1/14 เลขที่ 10 ด.ญ.พัทธนันท์ พิมสาร ม.1/14 เลขที่ 34 ด.ช.ยุรนันท์ แก้วประเสริฐ ม.1/14 เลขที่ 39 ด.ญ.อภิชญา สุรสีหนาท ม.1/14 เลขที่ 48. โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี.
E N D
ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ญ.จริยา เกษมสันต์ ณ อยุธยา ม.1/14 เลขที่ 6 ด.ช.ชาคร อุสาหะ ม.1/14 เลขที่ 10 ด.ญ.พัทธนันท์ พิมสาร ม.1/14 เลขที่ 34 ด.ช.ยุรนันท์ แก้วประเสริฐ ม.1/14 เลขที่ 39 ด.ญ.อภิชญา สุรสีหนาท ม.1/14 เลขที่ 48 โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
จริยา หนัก 45 สูง 163 ซม.อ่อนตัว 17 ดันพื้น 27 ลุกนั่ง 23 วิ่ง800ม. 5.09 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไรเพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ที่สมส่วนเพราะว่าออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรับประทาน อาหารครบ5หมู่ ชาคร หนัก 54 สูง 173 ซม.อ่อนตัว 13 ดันพื้น 34 ลุกนั่ง 36 วิ่ง800ม. 5.17 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไรเพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ที่สมส่วนเพราะว่าออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรับประทาน อาหารครบ5หมู่ พัทธนันท์ หนัก 44 สูง 161 ซม.อ่อนตัว 7 ดันพื้น 30 ลุกนั่ง 40 วิ่ง800ม. 5.09 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไรเพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ที่สมส่วนเพราะว่าออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรับประทาน อาหารครบ5หมู่ ยุรนันท์ หนัก 52 สูง 151 ซม.อ่อนตัว 0 ดันพื้น 31 ลุกนั่ง 34 วิ่ง800ม. 5.41 อยู่ในเกณฑ์เริ่มอ้วนสาเหตุ รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยนช์ ไม่รับประทานอาหารผัก ผล ไม้ และไม่ออกกำลังกาย อภิชญา หนัก59 สูง 157 ซม.อ่อนตัว 4 ดันพื้น 28 ลุกนั่ง 26 วิ่ง800ม. 6.50 อยู่ในเกณฑ์เริ่มอ้วนสาเหตุ รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยนช์ ไม่รับประทานอาหารผัก ผล ไม้ และไม่ออกกำลังกาย โดยส่วนรวมได้ได้จัดการเรื่องควบคุมน้ำหนักแล้ว และถือว่าอยู่ในระดับดีครับ บทที่1 ปัญหาและสาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง การเจริญเติบโตสมวัย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อและครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน ขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของร่างกายและกิจกรรมของวัยรุ่น ควรได้รับวันละ 2200-3000 แคลอรี โปรตีน มีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโต ควรได้รับวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม วิธีการดูแลน้ำหนักตัว รับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ และ เนื้อสัตว์ ให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย รวมทั้งออกกำลังกายเป็นประจำ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน บทที่2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่3 วิธีดำเนินงาน 1. แบ่งงานต่างๆให้สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบ2. ให้สมาชิกแต่ละคนชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกๆวันจันทร์3. ให้สมาชิกในกลุ่มทดสอบสมรรถภาพทางกายทุกๆวันศุกร์4. ให้สมาชิกในกลุ่มจดข้อมูลต่างๆของร่างกาย5. ให้สมาชิกในกลุ่มหมั่นออกกำลังกายและรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ผล สำเร็จ เพราะคนที่เริ่มอ้วนมีน้ำหนักลดลงไปทีละนิด เนื่องจากมีการทานอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย และออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน
https://sites.google.com/site/kruwiruttwk/kar-ce-rith-teibto-laea-phathnakar-khxng-way-runhttps://sites.google.com/site/kruwiruttwk/kar-ce-rith-teibto-laea-phathnakar-khxng-way-run https://sites.google.com/site/bombam6653/bth-thi-1-krabwnkar-srang-serim-laea-darng-prasiththiphaph-khxng-rabb-prasath-laea-txm-ri-thx/1-5-naewthang-kar-phathna-tnxeng-hi-teibto-smway http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no12/teen.html http://www.afic.org/What%20You%20Should%20Know%20About%20Weight%20Management_TH.htm http://www.megasportnutrition.com/sports-science/sports-science.html http://perawich.tripod.com/pe2.htm สรุป/บรรณานุกรม