840 likes | 1.8k Views
โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม. โดยโรงงานควบคุม. บริษัท นิชชินเบรค (ประเทศไทย) จำกัด. ข้อมูลเบื้องต้นของโรงงาน. ที่ตั้ง : 399/1 หมู่ 6 ต . หนองระเวียง อ . เมือง จ . นครราชสีมา 30000 TSIC-ID : 38439- 0156 ประเภท : โรงงานอุตสาหกรรมรม
E N D
โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยโรงงานควบคุม บริษัท นิชชินเบรค (ประเทศไทย) จำกัด
ข้อมูลเบื้องต้นของโรงงานข้อมูลเบื้องต้นของโรงงาน ที่ตั้ง :399/1 หมู่ 6 ต.หนองระเวียง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 TSIC-ID : 38439-0156 ประเภท : โรงงานอุตสาหกรรมรม ผลิตภัณฑ์ :ชิ้นส่วนรถยนต์,ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ ผลผลิต : 780 ตัน/ปี จำนวนพนักงาน : 400 คน ชั่วโมงทำงาน : สำนักงาน 8 ชั่วโมงต่อวัน 276วันต่อปี การผลิต 21 ชั่วโมงต่อวัน 276วันต่อปี
ข้อมูลการใช้พลังงาน ปริมาณการใช้พลังงานภาพรวม ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ 12,727,365kWh/ปี ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ LPG 440,745 kg/ปี คิดเป็นพลังงานความร้อนรวม 67,141,757MJ/ปี หรือ 1.58938ktoe/ปี ดัชนีการใช้พลังงานรวมเฉลี่ย 9,212 MJ/ตัน
ข้อมูลการใช้พลังงาน ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ 12,727,365kWh/ปี คิดเป็นพลังงานความร้อนเทียบเท่า 45,818,514MJ/ปี หรือ 1.08462ktoe/ปี ค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้า 35,679,895บาท/ปี ราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ย 2.80 บาท/kWh ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 1,748kWh/ตัน
ข้อมูลการใช้พลังงาน ปริมาณการใช้พลังงานความร้อน ชนิดเชื้อเพลิง LPG ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ 440,745 kg/ปี คิดเป็นพลังงานความร้อน 21,323,243 MJ/ปี หรือ 0.504764 ktoe/ปี ค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง 7,200,022 บาท/ปี ราคาค่าเชื้อเพลิงเฉลี่ย 16.34 บาท/kg ดัชนีการใช้พลังงานความร้อนเฉลี่ย 2,918 MJ/ตัน
การพัฒนาระบบการจัดการพลังงานการพัฒนาระบบการจัดการพลังงาน
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดโครงสร้างการจัดการพลังงาน
ผลประเมินลักษณะทั่วไปของวัฒนธรรมภายในองค์กรผลประเมินลักษณะทั่วไปของวัฒนธรรมภายในองค์กร 16 16 16 16 16 96 16 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ผลประเมินวัฒนธรรมองค์กรผลประเมินวัฒนธรรมองค์กร ลักษณะองค์กร:ไม่ชอบเสี่ยง มักมองการณ์ปานกลาง เน้นการควบคุม ความปลอดภัย และความมั่นใจ ผู้นำมักจะเป็นพวกอนุรักษ์นิยม คุ้นเคยกับกฎระเบียบ ให้ความสำคัญกับโครงสร้าง เป้าหมายที่สำคัญคือ การอยู่รอดขององค์กร อำนาจการตัดสินในกำหนดภายใต้กฎระเบียบ มักมี “แนวทางปฏิบัติ” ขององค์กร โครงสร้างที่เหมาะสม : ผลักดันให้กำหนดการจัดการพลังงานเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างขององค์กร มี Accountability และขั้นตอนการรายงานที่ชัดเจน สร้างระบบรายงานข้อมูล ติดตามตรวจสอบ การใช้พลังงานที่ชัดเจน ครอบคลุม TEAM Entrepreneurial สูง ระดับความไม่แน่นอนที่ยอมรับได้ Market Hierarchic ต่ำ ระยะสั้น ระยะยาว การวางแผน
ประกาศแต่งตั้งคณะทำงานด้านพลังงานประกาศแต่งตั้งคณะทำงานด้านพลังงาน
ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานะเบื้องต้น
ผลประเมินด้วย Energy Management Matrix เป้าหมาย 4 3 2 1 ก่อนเข้าร่วมโครงการ 0 ระบบข้อมูล ข่าวสาร การกระตุ้นและ สร้างแรงจูงใจ นโยบาย การจัดองค์กร การลงทุน ประชาสัมพันธ์
ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดนโยบายและการประชาสัมพันธ์
การอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกการอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึก ครั้งที่ 1: การนำเสนอระบบจัดการพลังงาน
การอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกการอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึก ครั้งที่ 1: อบรมปลุกจิตสำนึก เรื่อง สภาวะโลกร้อน
การอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกการอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสำนึก ครั้งที่ 2: อบรมปลุกจิตสำนึก เรื่องอุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าในบ้าน
การประชาสัมพันธ์ สติ๊กเกอร์รณรงค์การอนุรักษ์พลังงาน
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพด้านเทคนิค
ปริมาณการใช้พลังงาน ประเภทอุตสาหกรรม :การผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ผลิตภัณฑ์ : ชิ้นส่วนรถยนต์,ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ ผลผลิต : 780 ตัน/ปี ปริมาณการใช้พลังงานรวม:ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ 12,727,365 kWh/ปี ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ LPG 440,745 kg/ปี คิดเป็นพลังงานความร้อนรวม 67,141,757 MJ/ปี หรือ 1.58938 ktoe/ปี ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานรวม42,879,917 บาท/ปี ราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ย 2.80 บาท/kWh ดัชนีการใช้พลังงานรวมเฉลี่ย 9,212 MJ/ตัน
สัดส่วนการใช้พลังงาน พลังงานไฟฟ้า
สัดส่วนการใช้พลังงาน พลังงานความร้อน
ความสัมพันธ์การใช้พลังงานไฟฟ้าและปริมาณการผลิตความสัมพันธ์การใช้พลังงานไฟฟ้าและปริมาณการผลิต SEC ไฟฟ้า = 1748 kWh/ตัน
ความสัมพันธ์การใช้พลังงานความร้อนและปริมาณการผลิตความสัมพันธ์การใช้พลังงานความร้อนและปริมาณการผลิต SEC ความร้อน = 2918 MJ/ตัน
ความสัมพันธ์การใช้พลังงานรวม (ไฟฟ้าและความร้อน) และปริมาณการผลิต SEC รวม = 9,212 Mj/ตัน
ดัชนีการใช้พลังงานรวมดัชนีการใช้พลังงานรวม
งานด้านอนุรักษ์พลังงานที่ได้ดำเนินการมาแล้วในอดีตงานด้านอนุรักษ์พลังงานที่ได้ดำเนินการมาแล้วในอดีต
ขั้นตอนที่ 5 การกำหนดมาตรการ เป้าหมาย และการคำนวณผลตอบแทนทางการเงิน
แนวทางการหามาตรการและแนวทางการปฏิบัติ • โดยการลงพื้นที่สำรวจสภาพการใช้พลังงาน • โดยการระดมสมองของทีมงาน • โดยการเสนอของพนักงานในไลน์การผลิตที่เข้าอบรม
กำหนดมาตรการอนุรักษ์พลังงานกำหนดมาตรการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่มีศักยภาพ
ขั้นตอนที่ 6 การจัดทำแผนปฏิบัติการ
แผนปฏิบัติการตามระบบจัดการพลังงานแผนปฏิบัติการตามระบบจัดการพลังงาน
แผนปฏิบัติการตามระบบจัดการพลังงานแผนปฏิบัติการตามระบบจัดการพลังงาน
แผนปฏิบัติการตามระบบจัดการพลังงานแผนปฏิบัติการตามระบบจัดการพลังงาน
ขั้นตอนที่ 7 การดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ
การแต่งตั้งคณะทำงานปฏิบัติงานตามแผนการแต่งตั้งคณะทำงานปฏิบัติงานตามแผน อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน
มาตรการอนุรักษ์พลังงานมาตรการอนุรักษ์พลังงาน
ขั้นตอนที่ 8 การทบทวนผลการดำเนินการ
รายงานการประชุมผลการดำเนินโครงการรายงานการประชุมผลการดำเนินโครงการ การดำเนินงานยังไม่ถึงในขั้นตอนนี้
การทบทวน Energy Management Matrix เป้าหมาย 4 3 2 หลังเข้าร่วมโครงการ 1 ก่อนเข้าร่วมโครงการ 0 ระบบข้อมูล ข่าวสาร การกระตุ้นและ สร้างแรงจูงใจ นโยบาย การจัดองค์กร การลงทุน ประชาสัมพันธ์
การทบทวนระบบจัดการพลังงาน ด้วยแบบ Check List การดำเนินงานยังไม่ถึงในขั้นตอนนี้
การทบทวนผลการอนุรักษ์พลังงานการทบทวนผลการอนุรักษ์พลังงาน การดำเนินงานยังไม่ถึงในขั้นตอนนี้
ปัญหาอุปสรรค แนวทางการแก้ไข