1 / 56

1. มีความรู้ ความเข้าใจด้านการเงิน ส่วนบุคคล บทบาทหน้าที่ของเงิน เพื่อใช้ใน

จุดประสงค์รายวิชา. 1. มีความรู้ ความเข้าใจด้านการเงิน ส่วนบุคคล บทบาทหน้าที่ของเงิน เพื่อใช้ใน การตัดสินใจใช้ทางเลือกต่าง ๆ ในชีวิต. จุดประสงค์รายวิชา. 2. มีความสามารถบริหารและการ จัดการการเงินส่วนบุคคล จัดสรรทรัพยากร ได้เหมาะสม รวมทั้งวิเคราะห์กลั่นกรอง จัดลำดับความสำคัญ.

Download Presentation

1. มีความรู้ ความเข้าใจด้านการเงิน ส่วนบุคคล บทบาทหน้าที่ของเงิน เพื่อใช้ใน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จุดประสงค์รายวิชา 1. มีความรู้ ความเข้าใจด้านการเงิน ส่วนบุคคล บทบาทหน้าที่ของเงิน เพื่อใช้ใน การตัดสินใจใช้ทางเลือกต่าง ๆ ในชีวิต

  2. จุดประสงค์รายวิชา 2. มีความสามารถบริหารและการ จัดการการเงินส่วนบุคคล จัดสรรทรัพยากร ได้เหมาะสม รวมทั้งวิเคราะห์กลั่นกรอง จัดลำดับความสำคัญ

  3. จุดประสงค์รายวิชา 3. มีความรับผิดชอบทางการเงิน

  4. มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการการเงินส่วนบุคคล 2. จัดทำงบประมาณส่วนบุคคล 3. บริหารและจัดการการเงินส่วนบุคคล 4. เข้าใจหลักการลงทุนในทรัพย์ ลงทุนทำธุรกิจ ลงทุนในหลักทรัพย์และกองทุนประเภทต่าง ๆ

  5. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล การรู้จักหาเงิน ออมเงิน และใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนทางเลือกในการลงทุนประเภทต่าง ๆ และผลประโยชน์ทางภาษี

  6. เนื้อหาในรายวิชาประกอบ 4 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 หาเงินอย่างไรดี หน่วยที่ 2 เก็บออมอย่างไรดี หน่วยที่ 3 ใช้จ่ายอย่างถูกวิธี หน่วยที่ 4 ทำให้เงินงอกเงย

  7. เงิน

  8. เงิน คือ อะไร ????

  9. เงิน คือวัตถุที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนขาย-ซื้อสินค้าและบริการ เป็นตัวแทนการวัดมูลค่าของสินค้าที่ทำการแลกเปลี่ยนกัน ในอดีตเริ่มจากการใช้เปลือกหอย อัญมณี พัฒนามาเป็นโลหะ ปัจจุบัน ใช้เป็น เหรียญกษาปณ์ และ ธนบัตร

  10. เหรียญกษาปณ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเหรียญกษาปณ์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ชนิด 25 สตางค์ชนิด 50 สตางค์ ชนิด 1 บาทชนิด 2 บาท ชนิด 5 บาท ชนิด 10 บาท

  11. เหรียญกษาปณ์ชนิด 25 สตางค์

  12. ลักษณะสำคัญของเหรียญกษาปณ์ชนิด 25 สตางค์ เส้นผ่านศูนย์กลาง16 มม.น้ำหนัก1.9 กรัม ส่วนประกอบอะลูมิเนียมบรอนซ์ ด้านหน้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลังพระบรมธาตุเจดีย์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ปีที่ผลิตพ.ศ. 2530

  13. เหรียญกษาปณ์ชนิด 50 สตางค์

  14. ลักษณะสำคัญของเหรียญกษาปณ์ชนิด 50 สตางค์ เส้นผ่านศูนย์กลาง18 มม.น้ำหนัก2.4 กรัม ส่วนประกอบอะลูมิเนียมบรอนซ์ ด้านหน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลังพระเจดีย์วัดพระธาตุดอยสุเทพ ปีที่ผลิตพ.ศ. 2530

  15. เหรียญกษาปณ์ชนิด 1 บาท

  16. ลักษณะสำคัญของเหรียญกษาปณ์ชนิด 1 บาท เส้นผ่านศูนย์กลาง20 มม.น้ำหนัก3.4 กรัม ส่วนประกอบคิวโปรนิกเกิล ด้านหน้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลังพระศรีรัตนเจดีย์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ปีที่ผลิตพ.ศ. 2529

  17. เหรียญกษาปณ์ชนิด 2 บาท

  18. ลักษณะสำคัญของเหรียญกษาปณ์ชนิด 2 บาท เส้นผ่านศูนย์กลาง21.75 มม. น้ำหนัก4.4 กรัม ส่วนประกอบคิวโปรนิกเกิลสอดไส้ เหล็กกล้า ด้านหน้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลังพระบรมบรรพต วัดสระเกศ ปีที่ผลิตพ.ศ. 2548

  19. เหรียญกษาปณ์ชนิด 5 บาท

  20. ลักษณะสำคัญของเหรียญกษาปณ์ชนิด 5 บาท เส้นผ่านศูนย์กลาง24 มม.น้ำหนัก7.5 กรัม ส่วนประกอบคิวโปรนิกเกิลสอดไส้ ทองแดง ด้านหน้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลังพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร ปีที่ผลิตพ.ศ. 2531

  21. เหรียญกษาปณ์ชนิด 10 บาท

  22. ลักษณะสำคัญของเหรียญกษาปณ์ชนิด 10 บาท เส้นผ่านศูนย์กลาง26 มม. น้ำหนัก8.5 กรัม ส่วนประกอบวงแหวน: คิวโปรนิกเกิล ตรงกลาง: อะลูมิเนียมบรอนซ์ ด้านหน้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลังพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ปีที่ผลิตพ.ศ. 2531

  23. ธนบัตรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันธนบัตรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ธนบัตร ฉบับละ 20 บาท ธนบัตร ฉบับละ 50 บาท ธนบัตร ฉบับละ 100 บาท ธนบัตร ฉบับละ 500 บาท ธนบัตร ฉบับละ 1,000 บาท

  24. ธนบัตร ฉบับละ 20 บาท

  25. ลักษณะสำคัญของธนบัตรฉบับละ 20 บาท ขนาด138 × 72 มม. สี สีเขียว ด้านหน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล วันที่ออกใช้ 3 มีนาคม 2546

  26. ธนบัตร ฉบับละ 50 บาท

  27. ลักษณะสำคัญของธนบัตร ฉบับละ 50 บาท ขนาด144 × 72 มม. สี น้ำเงิน ด้านหน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลัง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ออกใช้1 ตุลาคม 2547

  28. ธนบัตร ฉบับละ 100 บาท

  29. ลักษณะสำคัญของธนบัตร ฉบับละ 100 บาท ขนาด150 × 72 มม. สี แดง ด้านหน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลัง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ออกใช้21 ตุลาคม 2548

  30. ธนบัตร ฉบับละ 500 บาท

  31. ลักษณะสำคัญของธนบัตร ฉบับละ 500 บาท ขนาด156 × 72 มม. สีม่วง ด้านหน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลัง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ออกใช้ 1 สิงหาคม 2544

  32. ธนบัตร ฉบับละ 1,000 บาท

  33. ลักษณะสำคัญของธนบัตร ฉบับละ 1,000 บาท ขนาด162 × 72 มม. สี เทา ด้านหน้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ด้านหลัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช วันที่ออกใช้ 25 พฤศจิกายน 2548

  34. เงิน คือวัตถุที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน ซื้อขายเป็นตัวแทนการวัดมูลค่าของสินค้าที่แลกเปลี่ยนกันเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่ไม่รู้จักหมดสิ้น ดังนั้น คนจึงมีวิธีการหาเงินที่แตกต่างกันออกไป

  35. หาเงินอย่างไรดี

  36. นักเรียนมีวิธีการหาเงินได้อย่างไรบ้างนักเรียนมีวิธีการหาเงินได้อย่างไรบ้าง

  37. วิธีการหาเงิน • ทำงานประจำ ทำงานพิเศษ ขายของ- รับพิมพ์รายงาน ขอเงินจากพ่อ-แม่ • ลักทรัพย์ ค้ายาเสพติด ขายร่างกาย เล่นการพนัน ผิดกฎหมาย ไม่ผิดกฎหมาย

  38. การกำหนดเป้าหมายในชีวิต

  39. การกำหนดเป้าหมายในชีวิต ในการทำสิ่งใด ๆ ก็ตาม เราต้องมีการกำหนดเป้าหมายชีวิตที่ต้องการไว้ล่วงหน้าเสมอ เป้าหมายชีวิตเปรียบได้กับเข็มทิศนำทางที่คอยบอกเราว่าใกล้ถึงจุดหมายปลายทางหรือสิ่งที่เราคาดหวังและต้องการทำให้สำเร็จแล้ว

  40. หากไม่มีการกำหนดเป้าหมาย การทำสิ่งใดๆ ย่อมจะสะเปะสะปะไร้ทิศทาง โอกาสที่จะประสบความสำเร็จก็เป็นไปได้ยาก เปรียบเหมือนเรือที่ลอยอยู่กลางทะเลไร้ซึ่งทิศทางก็ไม่อาจกลับเข้าฝั่งได้

  41. หลักในการกำหนดเป้าหมายที่ดีหรือ SMART 1. S: Specific เป็นสิ่งที่เราต้องการ และมีคุณค่าอย่าชัดเจน

  42. หลักในการกำหนดเป้าหมายที่ดีหรือ SMART 2. M: Measurable ต้องสามารถระบุ และวัดผลลัพธ์ได้อย่างชัดเจน

  43. หลักในการกำหนดเป้าหมายที่ดีหรือ SMART 3. A: Accountable ต้องมีความมุ่งมั่นและลงมือปฏิบัติจริง

  44. หลักในการกำหนดเป้าหมายที่ดีหรือ SMART 4. R: Realistic สมเหตุสมผล และเป็นสิ่งที่มีโอกาสเป็นไปได้

  45. หลักในการกำหนดเป้าหมายที่ดีหรือ SMART 5. T: Time Bound มีระยะเวลาเป็นกรอบกำหนดที่ต้องทำให้สำเร็จ

  46. เมื่อรู้จักกับหลักในการกำหนดเป้าหมายแล้ว ก็สามารถที่จะประยุกต์ใช้กับการดำรงชีวิตในปัจจุบัน เพื่อทำให้เกิดความสุขและความพึงพอใจในการดำรงชีวิตได้ แต่เป้าหมายของแต่ละคนอาจจะแตกต่างกันไปตามมุมมอง และลำดับความสำคัญในการดำรงชีวิตของคน ๆ นั้น

  47. เป้าหมายชีวิตสามารถแบ่งตามระยะเวลาได้เป้าหมายชีวิตสามารถแบ่งตามระยะเวลาได้ @ เป้าหมายระยะสั้น คือ สามารถทำให้สำเร็จได้โดยใช้เวลา ไม่เกิน 1 ปี @ เป้าหมายระยะยาว คือ ใช้เวลานานมากกว่า 1 ปีขึ้นไป

  48. นอกจากนี้เรายังสามารถนำเรื่องระยะเวลาและลำดับความสำคัญในการดำรงชีวิตมาใช้ร่วมกันในการแบ่งเป้าหมายในชีวิตได้ดังนี้ นอกจากนี้เรายังสามารถนำเรื่องระยะเวลาและลำดับความสำคัญในการดำรงชีวิตมาใช้ร่วมกันในการแบ่งเป้าหมายในชีวิตได้ดังนี้

  49. เป้าหมายระยะสั้นที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตเป้าหมายระยะสั้นที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เป้าหมายระยะสั้นที่ไม่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต

More Related