430 likes | 1.01k Views
การ ทำแผนยุทธศาสตร์. ยุทธศาสตร์ที่ ๑. พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย. เขตบริการสุขภาพที่ 1 วันที่ 27-28 กันยายน 2557. สำนักงานเขตบริการสุขภาพที่1. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน.
E N D
การทำแผนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 1 วันที่ 27-28 กันยายน 2557 สำนักงานเขตบริการสุขภาพที่1
วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ : 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยเรียน กลุ่มเด็กวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ ระบบปฐมภูมิ ระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ ระบบควบคุมโรค ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านยาเสพติด ด้านต่างประเทศ ด้านชายแดนภาคใต้ ด้านการบังคับใช้กฎหมาย ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ด้านพัฒนาบุคลากร
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยเรียน กลุ่มเด็กวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ ระบบปฐมภูมิ ระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ ระบบควบคุมโรค ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านยาเสพติด ด้านต่างประเทศ ด้านชายแดนภาคใต้ ด้านการบังคับใช้กฎหมาย ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ด้านพัฒนาบุคลากร
จำนวนการตายของมารดา แยกตามสาเหตุ ในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2552 – 2557
ระบบบริการดูแล…หญิงตั้งครรภ์ ? ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70%) ข้อสังเกต …ประเด็น ANC คุณภาพ • มีการคัดกรองความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ แต่…case เสี่ยงไม่ได้พบแพทย์ 2. Thalassemia:มาฝากครรภ์ช้า มีปัญหาการคัดกรองไม่ครบ(ร้อยละ 93.35)ตามสามีมาตรวจไม่ครบ(ร้อยละ 84.92)การส่งต่อเพื่อทำ PND ทักษะการ counselling 3. ยาไอโอดินในหญิงตั้งครรภ์บางรายไม่กินยา กินยาไม่สม่ำเสมอ ไม่ทราบว่าทำไมต้องกิน? 3. ขาดการให้ความรู้และคำแนะนำ แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ที่มา ศูนย์อนามัยที่ 10 : การประเมินรับรอง รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว ในปี 2557
การดูแลหญิงคลอดและทารกแรกเกิด? LR คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70%) • ข้อสังเกต … ประเด็นห้องคลอดคุณภาพ • เครื่องมืออุปกรณ์ไม่พอเพียง :ultrasound /transfer incubator/defibrillator • รพ.ระดับ M2 บางแห่ง ไม่มี blood bank • บางแห่ง เครือข่ายการหาเลือดใช้เวลานาน (เกิน 30 นาที) • บุคลากรได้รับการอบรมไม่ทั่วถึง พัฒนากระบวนการคุณภาพ ระบบส่งต่อ ศักยภาพบุคคลากร โครงการประชุมวิชาการ MCHB ประจำปี
การดูแลพัฒนาการเด็กปฐมวัยการดูแลพัฒนาการเด็กปฐมวัย
๑ โครงการ การคัดกรองและติดตามพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี เขต 8จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ในโครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กล้านนา LCDIP (Lanna Child Development Integration Project) งบประมาณปี 2557
กิจกรรมและกลุ่มเป้าหมาย ปี 2558 อบรมและสนับสนุนอุปกรณ์ DSPM และ DAIM ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1,100 คน ใน รพ.สต. 1,100 แห่ง อบรมและสนับสนุน TEDA4I ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 200 คน ใน รพช. /รพท./รพศ. 100 แห่ง
DVD คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
อุปกรณ์สำหรับคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM (จำนวน 20 ชุด) สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
๒ โครงการประชุมวิชาการ MCH Board ระดับเขต ๓โครงการ ANC และ LR คุณภาพ
การเฝ้าระวังการขาดไอโอดินในระดับพื้นที่ เขต 1 ปี 2556 Median of urinary iodine Deficiency < 150 µg/l Adequate 150 – 249 µg/l Excess 250 – 499 µg/l Over Excess ≥ 500 µg/l On Process - เก็บปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกและ ยังไม่ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน 300 ราย/จว. ทุกปี - urine iodine ในหญิงตั้งครรภ์ที่ต่ำกว่าเกณฑ์ ในจังหวัดเชียงราย พะเยา แม่ฮ่องสอน ลำพูน (แสดงถึงการขาดสารไอโอดีน ในระดับพื้นที่) ที่มา : สำนักโภชนาการ กรมอนามัย
นโยบายการดำเนินงานไอโอดีนในระดับจังหวัดนโยบายการดำเนินงานไอโอดีนในระดับจังหวัด • ตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ก่อนที่ยังไม่ได้รับยาเสริมฯ เพื่อเฝ้าระวังการได้รับไอโอดีน ในแต่ละจังหวัด 300 ราย ทุกปี เพื่อเฝ้าระวังการขาดไอโอดีนในระดับพื้นที่ ไม่ได้บ่งบอกการขาดไอโอดีนในระดับบุคคล ปี 2556 มีพื้นที่เสี่ยงคือ เชียงราย พะเยา ลำพูน แม่ฮ่องสอน • เน้นมาตรการเกลือเสริมไอโอดีนถั่วหน้า และการให้ยาเม็ดในหญิงตั้งครรภ์อย่างเข้มข้น ส่วนการเก็บ UI ในเด็ก 0-2 ปี จะบ่งบอกพื้นที่ที่มีการขาดโอดีนเช่นกับการตรวจ UI ในหญิงตั้งครรภ์ • ตรวจปัสสาวะในเด็ก 0-2 ปี ในพื้นที่เสี่ยง • ตรวจเลือดจากส้นเท้าเด็กแรกคลอดอายุ 48 ชั่วโมงขั้นไป ใช้แนวทางเดิมเพื่อตรวจสอบการทำงานของต่อมไทรอยด์ ในเด็กแรกคลอด • เน้นมาตรการเสริม คือให้ทุกพื้นที่ทั้ง 8 จังหวัด ดำเนินการให้ยาเม็ดเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอดถึง 6 เดือน • ติดตามการได้รับยาเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และไอโอดีนที่มีในอาหาร โดยศูนย์อนามัย/สำรวจโดย อสม. ในวัน อสม. 25 มิถุนายน)
เด็กจมน้ำ สถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี มากกว่าการเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ โดยใน แต่ละปีจะมีเด็กเสียชีวิตเกือบ 1,300 -1,500 คนหรือวันละเกือบ 4 คน อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนจากการตกน้ำ จมน้ำของเด็ก (ปี 2545 -2555) อยู่ในช่วง 8.4 -11.5 โดยเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปีเป็นกลุ่มเสี่ยงหลัก โดยมักพบว่าเด็กจะจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันครั้งละหลายๆ คน เนื่องจาก เด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำและวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จังหวัดในพื้นที่เสี่ยงปานกลาง (อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 5-7) ได้แก่ จังหวัดลำพูน เชียงราย น่าน เชียงใหม่ และแพร่ จังหวัดในพื้นที่เสี่ยงน้อย (อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคนน้อยกว่า 5) ได้แก่ พะเยา ลำปาง และแม่ฮ่องสอน
จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี ) ลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง แจ้งนโยบาย ให้ทุก คปสอ. นำเข้าสู่แผน DHS จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95 จำนวนโรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์ KPI ระดับจังหวัด ทุกด้าน ร้อยละ 40 ดำเนินการต่อเนื่องตาม โครงการของจังหวัด
ข้อมูลปี 2557 อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปีเป้าหมาย ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน
การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สภาพปัญหา เขตสุขภาพที่1 มี 5 จังหวัด ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนถึง ติดอันดับ 10 อันดับแรกของประเทศได้แก่ จังหวัดพะเยา (ลำดับ 1) จังหวัดแพร่ (ลำดับ 2) จังหวัดเชียงราย (ลำดับ3) จังหวัดน่าน (ลำดับ 5) และจังหวัดลำปาง (ลำดับ 8) ในกลุ่มเด็กและเยาวชนอายุ 15 - 19 ปี จะพบว่า มีความชุกสูงติดลำดับ 1 ใน 10 ลำดับจำนวน 3 จังหวัดคือ คือจังหวัดพะเยา (ลำดับ1) จังหวัดแพร่ (ลำดับ 4) จังหวัดน่าน (ลำดับ 7)
จังหวัดที่มีอัตราฆ่าตัวตายสำเร็จสูงสุด 10 อันดับแรกของประเทศ *ต่อประชากรแสนคน
แจ้งนโยบาย ให้ทุก คปสอ. ให้ทุก คปสอ. นำเข้าสู่แผน DHS การติดตามเป็นเรื่องเฉพาะกลุ่ม มี มาตรการแนะนำให้จังหวัด คล้ายกับ ต้นแบบใน TO BE NUMBER ONE ในระดับจังหวัด เช่น Just Say No การประกวด เยาวชนต้นแบบ การใช้มาตรการงดเหล้าในประเพณีสำคัญ เลือกจังหวัดลำปางเป็นต้นแบบในการดำเนินการในเรื่องนี้ แนะนำให้จังหวัดใช้มาตรการบังคับใช้กฎหมาย โดยมีกรม ควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต เป็นผู้สนับสนุน
มาตรการการแก้ไขปัญหาในพื้นที่มาตรการการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ • การสร้างเครือข่าย • - ร่วมคิด • - ร่วมทำ • - ร่วมวางแผนการดำเนินงาน • ร่วมประเมินผล • ร่วมแลกเปลี่ยน การสร้างค่านิยม - งานศพปลอดเหล้า - งานบวชปลอดเหล้า - งานบุญปลอดเหล้า - วันครูปลอดเหล้า - วันพ่อแห่งชาติ&วันวันแม่แห่งชาติปลอดเหล้า ระบบเฝ้าระวัง/ มาตรการ/การบังคับใช้กฎหมาย - การจัดทำกติกาชุมชน - จัดตั้งศูนย์ข้อมูลคลายทุกข์ - ประกาศเขตปลอดดีกรีระดับหมู่บ้าน - จัดคลินิกบำบัดบุหรี่/สุรา - กลุ่มร้านค้าจำกัดดีกรี การสื่อสารความเสี่ยง - การจัดทำ Key massage - สร้างสื่อต้นแบบ - การสร้างกระแส งานประเพณีปลอดเหล้า
โครงการร่วม ระดับเขต ที่ดำเนินการต่อเนื่องในปี 2558 1.โครงการ SMART TEEN (ศูนย์อนามัยที่ 10) เพื่อสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่าย ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาท้องในวัยรุ่น ให้เกิดความเชื่อมโยง ต่อเนื่องและครบวงจร ทั้งระดับครอบครัว ท้องถิ่น และระดับอำเภอ งปม. จำนวน 620,000 บาท 2.โครงการส่งเสริมสุขภาพของสตรีวัยรุ่นและมารดาที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี (ชร. ศอ.10 ) งปม. จำนวน 1,496,000 บาท มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนา/จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพที่บูรณาการกับการให้บริการตามแนวทางมาตรฐานของ YFHS ในโรงพยาบาลชุมชน เพิ่มบริการการดูแลและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์/มารดา ที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ให้ได้รับบริการระหว่างตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด ที่ครบถ้วนและมีคุณภาพ
แจ้งนโยบาย ให้ทุก คปสอ. ให้ทุก คปสอ. นำเข้าสู่แผน DHS
มาตรการการสำคัญเพื่อลดการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน และหน่วยงานร่วมรับผิดชอบส่วนกลาง • พัฒนาข้อมูล • ข้อมูลภาพรวมระบบเฝ้าระวัง • - ข้อมูลสอบสวนเชิงลึก • การบังคับใช้กฎหมาย • หมวกนิรภัย - เข็มขัดนิรภัย • เมาแล้วขับ - ขับรถเร็ว DHS สหสาขา/ชุมชน • พัฒนาการดูแลรักษา • EMS • ER สธฉ. + สพฉ. : EMS สบรส. : ER • มาตรการชุมชน/องค์กร • ชุมชน/องค์กรต้นแบบ • ด้านต่างๆ
มาตรการหลัก แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปี2558 DHS/ DC
แนวทาง หรือมาตรการในการดำเนินงานปี 2558 • มาตรการระดับเขต โดยประสาน อปท. ในการจัดหากองทุนดูแลระยะยาว • ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (ร้อยละ 30) จัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุ ทุก รพ.สต จัดคลินิกคุณภาพ ผู้สูอายุ ในโรงพยาบาลภายใต้มาตรบริการซึ่งเคยดำเนินการใน รพ.ขนาด 120 เตียง
แจ้งนโยบาย ให้ทุก คปสอ. ให้ทุก คปสอ. นำเข้าสู่แผน DHS
แบบข้อเสนอเพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์แบบข้อเสนอเพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ สำนักงานเขตบริการสุขภาพที่1
เขตสุขภาพล้านนาเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพเพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพและสามารถเข้าถึงการบริการที่มีมาตรฐาน ภายในปี 2560 สำนักงานเขตบริการสุขภาพที่1