300 likes | 690 Views
ตัวชี้วัดอำนาจการซื้อของผู้บริโภคในตัวแบบ IC. เส้นงบประมาณ (budget line) I = PxX + PyY. ความลาดชันของเส้นงบประมาณ. แสดงอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสินค้าในตลาด Px/Py ให้ Px = 10 Py = 2 ความลาดชันเท่ากับ 5 สินค้า x หนึ่งหน่วยแลกสินค้า y ได้ 5 หน่วย. ค่าใช้จ่ายของผู้บริโภค.
E N D
ตัวชี้วัดอำนาจการซื้อของผู้บริโภคในตัวแบบ IC • เส้นงบประมาณ(budget line) • I = PxX + PyY
ความลาดชันของเส้นงบประมาณความลาดชันของเส้นงบประมาณ • แสดงอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสินค้าในตลาด • Px/Py • ให้ Px = 10 Py = 2 • ความลาดชันเท่ากับ 5 • สินค้า x หนึ่งหน่วยแลกสินค้า y ได้ 5 หน่วย
ค่าใช้จ่ายของผู้บริโภคค่าใช้จ่ายของผู้บริโภค • ค่าใช้จ่ายขนมครกของผู้บริโภค =Px.X1 หรือ Px.OX1 • Px/Py =AY1/Y1B=AY1/OX1 • Px.OX1=AY1.Py • ให้ Py = 1 เป็นราคาเปรียบเทียบ • ค่าใช้จ่ายขนมครกเท่ากับ AY1 • ไม่ว่าราคาสินค้า x และ y จะเท่ากับเท่าใด เราสามารถให้ Py = 1 ได้ • เช่น ถ้า Px = 5 Py = 2.5 Px/Py = 2/1
เส้นงบประมาณกับการเปลี่ยนแปลงในอำนาจการซื้อเส้นงบประมาณกับการเปลี่ยนแปลงในอำนาจการซื้อ • การเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
เส้นงบประมาณกับการเปลี่ยนแปลงในอำนาจการซื้อเส้นงบประมาณกับการเปลี่ยนแปลงในอำนาจการซื้อ • การเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้า
การจัดสรรรายได้ในการซื้อสินค้า • ความพอใจสูงสุดเมื่อ Px/Py = MRS • ถ้า MRS = 5 และ Px/Py = 1 ผู้บริโภคปรับตัวอย่างไร?
การตัดสินใจของผู้บริโภคเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้การตัดสินใจของผู้บริโภคเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้
เส้นการขยายรายได้และเส้นเอนเก็ลเส้นการขยายรายได้และเส้นเอนเก็ล
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้า ขนมถ้วย I/Py U1 D PEP B A Uo F E ขนมครก I/Px I/Px* ค1 ค2
ผลของการทดแทนและผลของรายได้จากการเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้า • การเปลี่ยนแปลงในราคา เช่น ราคา x ลดลงทำให้เกิดผลสองอย่าง • สินค้า x ถูกลงเมื่อเปรียบเทียบกับ y • ทำให้เกิดการทดแทนระหว่าง x และ y • เรียกว่าผลของการทดแทน(substitution effect) • ผู้ซื้อมีอำนาจการซื้อเพิ่มขึ้น • ทำให้ซื้อสินค้าได้ในปริมาณที่เพิ่มขึ้น • เรียกว่าผลของรายได้(income effect)
การตีความอำนาจการซื้อการตีความอำนาจการซื้อ • แนวคิดของ Sir John Hicks • ใช้ความพอใจเป็นตัวชี้วัด • ถ้าความพอใจเพิ่มขึ้นแสดงว่าอำนาจการซื้อเพิ่มขึ้น เพราะความพอใจเพิ่มขึ้นได้ก็ต่อเมื่อปริมาณสินค้าเพิ่มขึ้น • ถ้าความพอใจลดลง อำนาจการซื้อก็จะลดลง • วัดผลของการทดแทนและผลของรายได้ในเชิงปริมาณไม่ได้ นอกจากจะทราบฟังก์ชันอรรถประโยชน์ • วัดจากสมการรายจ่าย
ผลของการทดแทนและผลของรายได้ตามแนวคิดของ Hicks: กรณี 1 • AG เป็นผลของการทดแทน • เป็นลบ • GH เป็นผลของรายได้ • เป็นบวก • ขนมครกเป็นสินค้าปกติ
ผลของการทดแทนและผลของรายได้ตามแนวคิดของ Hicks: กรณี 2 • X เป็นสินค้าด้อยคุณภาพ
ผลของการทดแทนและผลของรายได้ตามแนวคิดของ Hicks: กรณี 3 • X เป็นสินค้า giffen
อำนาจการซื้อจากมุมมองของสลัทส์ซกี้ • อำนาจการซื้อคือความสามารถในการซื้อสินค้า • เพิ่มขึ้นถ้าซื้อสินค้าได้ในปริมาณที่เพิ่มขึ้น • ตัวอย่าง • I= 10 บาท Px = 2 บาท Py = 1 บาท • ให้เขามีความพอใจสูงสุดจากบริโภคqx =3 ฝา และ qy = 4 ถ้วย • ให้ Px = 1 บาท ทำให้ qx= 5 qy =5 ถ้วย • อำนาจการซื้อเพิ่มขึ้น • ถ้าจะให้อำนาจการซื้อเท่าเดิมต้องหักรายได้ 3 บาทเพื่อให้ qx =3 ฝา และ qy = 4 ถ้วย
ผลของการทดแทนและผลของรายได้ตามแนวคิดของslutskyผลของการทดแทนและผลของรายได้ตามแนวคิดของslutsky • กรณีที่ขนมครกและขนมถ้วยเป็นสินค้าปกติ
ตัวอย่างการหาผลการทดแทนและผลรายได้ตัวอย่างการหาผลการทดแทนและผลรายได้ • ผู้บริโภคมีรายได้ 10 บาท ขนมครกมีราคาฝาละ 2 บาท ขนมถ้วยมีราคาถ้วยละ 1 บาท ให้เขามีความพอใจสูงสุดจากบริโภคขนมครก 3 ฝาและขนมถ้วย 4 ถ้วย • ให้ราคาของขนมครกลดลงเป็นฝาละ 1 บาท ซึ่งทำให้ผู้บริโภคปรับการบริโภคขนมครกเป็น 5 ฝาและการบริโภคขนมถ้วยเป็น 5 ถ้วย • ต้องหักรายได้ 3 บาท เหลือ 7 บาท • ให้ความยืดหยุ่นรายได้ของขนมครกเท่ากับ 0.5 ปริมาณการบริโภคขนมครกจะลดลงในอัตราร้อยละ 15 หรือ 0.75 ฝา ปริมาณการบริโภคขนมครกลดลงจาก 5 ฝาเป็น 4.25 ฝา การเปลี่ยนแปลงในการบริโภคขนมครก 2 ฝาจึงแยกได้เป็นผลของการทดแทน 1.25 ฝา และเป็นผลของรายได้ 0.75 ฝา
เส้นความพอใจเท่ากันกับทฤษฎีอรรถประโยชน์ • MUx.b = MUy.a • MUx/MUy=a/b=mrs=Px/Py
กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์กับMRSกฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์กับMRS • MUx/MUy=a/b • mrs หรือ a/b สามารถลดลงโดย MUx หรือ MUy อาจลดลงหรือเพิ่มขึ้นก็ได้ ตราบใดที่สัดส่วน Mux/Muy ลดลง • mrs ที่ลดลงจึงไม่ต้องอิงกับ diminishing marginal utility
คุณสมบัติของอุปสงค์จากตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน • ถ้ารายได้และราคาสินค้าเพิ่มขึ้นในอัตราส่วนเดียวกัน เส้นงบประมาณ ab ยังเป็นเส้นเดิม ผู้บริโภคจึงยังบริโภคเหมือนเดิม Y a D X b
ประสิทธิภาพในการบริโภคประสิทธิภาพในการบริโภค • สังคมจะได้ประโยชน์หรือมีสวัสดิการสูงสุดจากการบริโภค เรียกว่ามีประสิทธิภาพ ถ้าไม่สามารถจัดสรรสินค้าเพื่อการบริโภคให้ผู้บริโภคคนหนึ่งมีความพอใจเพิ่มขึ้นโดยไม่ทำให้ความพอใจของผู้บริโภคอีกคนหนึ่งลดลง • แนวคิดของ Pareto optimal • ได้อย่างก็ต้องเสียอย่าง
ประสิทธิภาพ(2) • ตูมตาม(1)และต้อยติ่ง(2)ต่างบริโภคขนมครกและขนมถ้วยจำนวนหนึ่ง ซึ่งทำให้ MRS ต้อยติ่ง = 3MRS ตูมตาม= 1 • ไม่ได้เป็น Pareto เพราะสามารถเพิ่มความพอใจของคนหนึ่งโดยไม่ลดความพอใจของอีกคนหนึ่ง • แนวคิดของ Edgeworth Box Diagram • ประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นเมื่อมีการแลกเปลี่ยนกันจน mrs ของแต่ละคนเท่ากัน • เส้น contract curve เป็นเส้นที่การจัดสรรการบริโภคมีประสิทธิภาพ โดย mrs ของผู้บริโภคแต่ละคนเท่ากัน
แนวคิดเส้นความพอใจเท่ากันของสังคมแนวคิดเส้นความพอใจเท่ากันของสังคม • เส้นความพอใจเท่ากันของสังคมแสดงสัดส่วนการบริโภคของสินค้าที่ทำให้ผู้บริโภคแต่ละคนมีความพอใจเท่าเดิม • เส้นความพอใจเท่ากันของสังคมที่พิจารณาจากเส้นความพอใจเท่ากันของผู้บริโภคแต่ละคนจะไม่มีความคงเส้นคงวา • รัฐบาลต้องกำหนดนโยบายที่ทำให้เส้นความพอใจเท่ากันของสังคมมีความคงเส้นคงวา
ความยุติธรรม/ความทัดเทียมความยุติธรรม/ความทัดเทียม • เป็น normative • ขึ้นอยู่กับค่านิยม/ปรัชญา ของผู้วิเคราะห์ • เช่น ความยุติธรรมคือการมีรายได้เท่ากัน หรือมีสินค้าเท่ากัน เป็นต้น
ความทัดเทียมจากมุมมองเศรษฐศาสตร์:แนวคิดการแลกเปลี่ยนที่ความทัดเทียมจากมุมมองเศรษฐศาสตร์:แนวคิดการแลกเปลี่ยนที่ • มีพื้นฐานมาจากแนวคิด “จงพอใจในสิ่งที่ตนมี” • ตูมตามและต้อยติ่งต่างพอใจในสถานภาพของตัวเอง • มีประสิทธิภาพและความเป็นธรรม • ตูมตาม(ต้อยติ่ง)ชอบสถานภาพของต้อยติ่ง(ตูมตาม)มากกว่าของตัวเอง • ไม่มีประสิทธิภาพและไม่มีความเป็นธรรมแต่แก้ไขได้ • ตูมตามอยากเป็นต้อยติ่งแต่ต้อยติ่งไม่อยากเป็นตูมตาม • มีประสิทธิภาพแต่ไม่มีความเป็นธรรม • ถ้าทุกคนมีรายได้ระดับหนึ่ง ผู้ที่มีรายได้สูงกว่าจะไม่ยอมและเปลี่ยนที่กับผู้ที่มีรายได้ต่ำกว่า