1 / 120

รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์ กระแสท้องถิ่น กระแสโลกาภิวัฒน์

รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์ กระแสท้องถิ่น กระแสโลกาภิวัฒน์. ลักษณะวิชารัฐศาสตร์ แนวทางศึกษาของตะวันตก ? แนวทางศึกษาของประเทศไทย ?. วิชารัฐศาสตร์เป็น วิชาชีพ( Professional) วิชาการ (Academic). กระแสท้องถิ่น กระแส โลกาภิวัฒน์. ชุมชนโลก. ชุมชนท้องถิ่น. รัฐ. สังคม.

prema
Download Presentation

รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์ กระแสท้องถิ่น กระแสโลกาภิวัฒน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์กระแสท้องถิ่น กระแสโลกาภิวัฒน์

  2. ลักษณะวิชารัฐศาสตร์แนวทางศึกษาของตะวันตก? แนวทางศึกษาของประเทศไทย?

  3. วิชารัฐศาสตร์เป็นวิชาชีพ(Professional) วิชาการ(Academic)

  4. กระแสท้องถิ่น กระแสโลกาภิวัฒน์

  5. ชุมชนโลก ชุมชนท้องถิ่น

  6. รัฐ สังคม

  7. ปรัชญาการปกครองท้องถิ่นแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการท้องถิ่นปรัชญาการปกครองท้องถิ่นแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการท้องถิ่น

  8. ปรัชญาการปกครองท้องถิ่นปรัชญาการปกครองท้องถิ่น

  9. ชุมชน กำปง ประชาชน เขต Koinotes Demos Municipality - City - Civitas

  10. เมืองBurg Borough bergenBourgสะท้อนภาพเมืองในประวัติศาสตร์ซึ่งพ่อค้าต้องการการคุ้มครองพ่อค้า Merchants Bourgeoisieค้าขาย เดินทาง เรียนรู้วัฒนธรรมของคนต่างเมือง เมืองขยายตัว คึกคัก ผู้คนหลั่งไหลเข้ามาทำมาหากินเกิดระบบบริหารเมืองโดยเสรีชน

  11. การเกิดเมืองความเป็นอิสระของท้องถิ่นเกิดขึ้นและมีการพัฒนาภายใต้เงื่อนไขสำคัญคือการเติบโตของการค้าขาย และการเติบโตของเสรีชนความมั่งคั่งทำให้เมืองเติบโต และเมืองมีอิสระในการบริหารจัดการพื้นที่ของตนเอง

  12. การปกครองท้องถิ่นไทย เราสร้างการปกครองท้องถิ่น ผ่านตัวแทนมากเกินไป ชาวบ้านไม่ต้องทำอะไร มีราชการส่วนท้องถิ่นทำให้ ที่ถูกต้อง ตรงไหนชาวบ้านช่วยเหลือตัวเองได้ ต้องให้เขาทำต่อไป เราเพียงส่งเสริมให้เขาทำได้ดียิ่งขึ้น “ของหลวง ?” ท้องถิ่น ควรมีความเป็นชาวบ้านไม่ใช่เป็นราชการเต็มรูป ควรมีความหลากหลาย แต่ละท้องถิ่น ไม่ควรทำอะไรเหมือนกัน การศึกษาทำให้เราไม่รู้เรื่องในบ้านตนเอง ต้องริเริ่มเปิดช่องให้คนดีมาร่วมงานท้องถิ่น นำ ระดับชาติได้

  13. องค์กรที่อยู่เหนือท้องถิ่นมีหรือไม่?ถ้ามี คืออะไร ใครรู้บ้าง

  14. รัฐรัฐสมบูรณาสิทธิราชรัฐรัฐสมบูรณาสิทธิราช

  15. ท้องถิ่น VS รัฐตำนาน เรื่องเล่าพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของประเทศต่างๆ

  16. รวมทั้งได้นำไปสู่พัฒนาการของแนวความคิดของทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับการรวมศูนย์อำนาจการกระจายอำนาจการปกครองท้องถิ่นรวมทั้งได้นำไปสู่พัฒนาการของแนวความคิดของทฤษฎีต่างๆเกี่ยวกับการรวมศูนย์อำนาจการกระจายอำนาจการปกครองท้องถิ่น

  17. กรีก อารยธรรมกรีกเป็นจุดเริ่มต้นของปรัชญาและระบบการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย

  18. กรีก แตกต่างจากชนเผ่าอื่นๆก่อนหน้านั้นคือ การให้ความสำคัญต่อความรู้สึกนึกคิด และภูมิปัญญาของมนุษย์ การศึกษาที่มุ่งสร้างความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะเป็นพลเมือง ผู้ซึ่งรู้วิธีการปกครองและวิธีการถูกปกครองอย่างเป็นธรรม (โสรเตรติส ผู้สละชีวิตเพื่อปกป้องเสรีภาพในการแสวงหาความรู้)

  19. วรรณกรรม การปกครอง กฎหมาย ประวัติศาสตร์ปรัชญาการเมือง การสำรวจค้นคว้า การทดลองทางวิทยาศาสตร์ นำไปสู่การสร้าง และพัฒนา สาขาวิชาการต่างๆ

  20. ความเป็นพลเมือง Citizenshipการศึกษาที่มุ่งสร้างความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะเป็นพลเมือง ผู้ซึ่งรู้วิธีการปกครองและวิธีการถูกปกครองอย่างเป็นธรรม (โสรเตรติส ผู้สละชีวิตเพื่อปกป้องเสรีภาพในการแสวงหาความรู้)

  21. อารยธรรมกรีก กับการปกครองส่วนท้องถิ่นชุมชนการเมือง หรือ โพลิสเล็กๆที่ปกครองตนเองและเป็นอิสระจำนวนมากโพลิส Polis จะมีเมืองที่ห้อมล้อมด้วยชนบท มีประชากรที่อาศัยอยู่ทั้งในเมืองและในชนบท

  22. แต่ละ Polis มีสภา มีสภาสูงสุด มีผู้บริหาร และสถานที่ชุมนุมสาธารณะ

  23. ความเป็นพลเมือง ประชาธิปไตยโดยตรง ชุมชนเข้มแข็ง ประชาสังคม ประชาชนมีส่วนร่วม

  24. ปรัชญาการปกครองท้องถิ่นปรัชญาการปกครองท้องถิ่น การให้การศึกษาทางการเมือง Political Educationประชาธิปไตยท้องถิ่น Local Democracy

  25. โรมัน ยิ่งใหญ่ อารยธรรมโรมันขยายไปทั่วยุโรป เป็นผลจากการับอารยธรรมกรีกคุณสมบัติสำคัญของชาวโรมัน1. อุทิศตัวต่อหน้าที่อย่างเคร่งครัด2. ทรหด อนทน ทำงานหนัก

  26. 3. มีระเบียบวินัย เชื่อฟังผู้บังคับบัญชา4. เป็นนักสู้ ยกย่องความกล้าหาญ 5. มีความเป็นนักปฏิบัติ6. ยอมรับความแตกต่างทางเชื้อชาติ และแสวงหาประโยชน์จากสภาพดังกล่าว

  27. อารยธรรมด้านการปกครองของโรม1.ระบบการถ่วงดุลอำนาจระหว่างสถาบันต่างๆ2.การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่างๆและจังหวัดต่างๆที่อยู่รอบๆ ทั้งระบบทำสัญญา การปกครองแบบภูมิภาค(การแบ่งอำนาจ) 3.การปกครองท้องถิ่น4.ภาษาละตินและความเป็นโรมัน

  28. การปกครองท้องถิ่นไทย เราสร้างการปกครองท้องถิ่น ผ่านตัวแทนมากเกินไป ชาวบ้านไม่ต้องทำอะไร มีราชการส่วนท้องถิ่นทำให้ ที่ถูกต้อง ตรงไหนชาวบ้านช่วยเหลือตัวเองได้ ต้องให้เขาทำต่อไป เราเพียงส่งเสริมให้เขาทำได้ดียิ่งขึ้น “ของหลวง ?” ท้องถิ่น ควรมีความเป็นชาวบ้านไม่ใช่เป็นราชการเต็มรูป ควรมีความหลากหลาย แต่ละท้องถิ่น ไม่ควรทำอะไรเหมือนกัน การศึกษาทำให้เราไม่รู้เรื่องในบ้านตนเอง ต้องริเริ่มเปิดช่องให้คนดีมาร่วมงานท้องถิ่น นำ ระดับชาติได้

  29. ยิ่งใหญ่ อารยธรรมโรมันขยายไปทั่วยุโรป เป็นผลจากการับอารยธรรมกรีกคุณสมบัติสำคัญของชาวโรมัน1. อุทิศตัวต่อหน้าที่อย่างเคร่งครัด2. ทรหด อนทน ทำงานหนัก โรมัน

  30. 3. มีระเบียบวินัย เชื่อฟังผู้บังคับบัญชา4. เป็นนักสู้ ยกย่องความกล้าหาญ 5. มีความเป็นนักปฏิบัติ6. ยอมรับความแตกต่างทางเชื้อชาติ และแสวงหาประโยชน์จากสภาพดังกล่าว

  31. อารยธรรมด้านการปกครองของโรม1.ระบบการถ่วงดุลอำนาจระหว่างสถาบันต่างๆ2.การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่างๆและจังหวัดต่างๆที่อยู่รอบๆ ทั้งระบบทำสัญญา การปกครองแบบภูมิภาค(การแบ่งอำนาจ) 3.การปกครองท้องถิ่น4.ภาษาละตินและความเป็นโรมัน

  32. ยุคกลาง อำนาจของคริสต์ศาสนา อิสลาม - คริสต์ การค้าทางเรือสิ้นสุดลง เกิดการต่อสู้ ปล้นสะดมในดินแดนต่างๆ ไม่มีรัฐชาติเดียวที่มีอำนาจและอิทธิพลที่ครอบงำไปทั่ว แต่เกิดรัฐเล็กๆที่เป็นอิสระมากมาย ที่ต่อสู้ แย่งชิงอำนาจกัน พยายามสร้างความเข้มแข็งเพื่อคุ้มครองตนเอง ประชาชนรู้สึกไม่ปลอดภัย เศรษฐกิจแบบศักดินามีการค้าขายที่จำกัด ต้องพึ่งตนเองให้มากที่สุด ระบบการเมือง การปกครองคือการภักดีต่อเจ้าของที่ดิน

  33. ยุคกลาง การเติบโตของเมือง เมือง เป็นศูนย์กลางการปกครองทางศาสนา เมือง เป็นศูนย์กลางการบริหารแว่นแคว้นศักดินา เป็นศูนย์กลางอำนาจของชนชั้นศักดินาที่รักษาระบบการควบคุมไพร่ แรงงานของไพร่ มีการต่อสู้แย่งชิงไพร่พล โภคทรัพย์ ป้อม ปราสาท

  34. เมือง เป็นศูนย์กลางการค้าและเมืองของชนชั้นกลาง การฟื้นฟูการค้าระหว่างเมืองต่างๆเช่น เมืองท่า เมืองบนเส้นทางการค้า เมืองของเสรีชน เป็นศูนย์กลางการค้าขาย การผลิตของพวกช่าง แหล่งสร้างอาชีพใหม่ ที่พบปะ แลกเปลี่ยนข่าวสารด้านการค้า ตลาดใหม่ ดินแดนของเสรีชน ภาษิตเยอรมัน “อากาศในเมืองสร้างเสรีภาพ”

  35. การให้การศึกษาทางการเมือง POLITICAL EDUCATIONประชาธิปไตยท้องถิ่น LOCAL DEMOCRACY ปรัชญาการปกครองท้องถิ่น รากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในระดับชาติ

  36. การเกิดเมืองความเป็นอิสระของท้องถิ่นเกิดขึ้นและมีการพัฒนาภายใต้เงื่อนไขสำคัญคือการเติบโตของการค้าขาย และการเติบโตของเสรีชนความมั่งคั่งทำให้เมืองเติบโต และเมืองมีอิสระในการบริหารจัดการพื้นที่ของตนเอง

  37. แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น • ไม่ยอมรับการปกครองท้องถิ่น เพราะเห็นว่าการปกครองท้องถิ่นขัดขวางประชาธิปไตยที่มีการเลือกตั้ง เป็นแนวคิดที่เกิดจากการบริหารประเทศแบบรวมศูนย์อำนาจ • ยอมรับให้มีการปกครองท้องถิ่นได้ แต่ต้องมีการควบคุมจากรัฐบาลกลาง เพราะหัวใจการบริหารประเทศอยู่ที่รัฐบาลกลาง เพราะการปกครองท้องถิ่น คับแคบ เห็นแก่ท้องถิ่นของตนเองเป็นหลัก มีความหลากหลาย และมีแนวโน้มเป็นคณาธิปไตย การปกครองท้องถิ่นทุกระดับ ควรมีฐานะและโครงสร้างการบริหารเหมือนกัน

  38. แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น • การปกครองท้องถิ่นมีความจำเป็นต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สร้างการศึกษาทางการเมือง (political education) คนในท้องถิ่นได้เสนอปัญหา และหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง เป็นการสร้างค่านิยมประชาธิปไตย “ความชอบธรรมและเหตุผลของแต่ละคน”

  39. การกระจายอำนาจ เป็นวิธีการที่รัฐมอบอำนาจปกครองบางส่วนให้ประชาชน ในท้องถิ่นมี 2 ลักษณะ • การกระจายอำนาจตามพื้นที่ ตามเขตแดน • การกระจายอำนาจตามกิจการ หรือตามหน้าที่

  40. ความหมายของการปกครองท้องถิ่นความหมายของการปกครองท้องถิ่น • หมายถึง หน่วยการปกครองที่รัฐจัดตั้งขึ้นและให้มีอำนาจปกครองตนเอง (Autonomy) มีสิทธิตามกฎหมาย (Legal Rights) มีองค์กรที่จำเป็นในการปกครอง (Necessary Organization) • หมายถึง ระบบการปกครองจากการกระจายอำนาจทางการปกครองของรัฐ เกิดองค์กรที่ทำหน้าที่ • ปกครองท้องถิ่น โดยคนในท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งจัดตั้งและถูกควบคุมโดยรัฐบาลกลาง

  41. องค์ประกอบของการปกครองท้องถิ่นองค์ประกอบของการปกครองท้องถิ่น • มีขอบเขตพื้นที่ชัดเจน (defined boundaries) • เป็นนิติบุคคล (legal idenetity) • มีโครงสร้างอำนาจหน้าที่ที่กำหนดโดยกฎหมายทั่วไป และกฎหมายพิเศษ • มีความเป้นอิสระในการบริหาร และการคลังที่แน่นอน

  42. สาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่นสาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่น • ประชาชนในท้องถิ่นมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ การบริหารท้องถิ่นของตนเอง 6 ด้านคือ • อิสระในการกำหนดนโยบายพัฒนาท้องถิ่น Policy Autonomy • อิสระในการวางแผนงาน ทิศทางการบริหารท้องถิ่น Planning Autonomy • อิสระในการออกกฎข้อบังคับท้องถิ่น Regulatory Autonomy

  43. สาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่นสาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่น • อิสระในการกำหนดงบประมาณ Financial Autonomy • อิสระในการบริหารงานทุกๆด้าน Administrative Autonomy • อิสระในการบังคับบัญชาบุคลากร Personnal Autonomy

  44. สาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่นสาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่น 2. เพื่อให้ความเป็นอิสระเป็นไปโดยประชาชนในท้องถิ่นนั้น ประชาชน ย่อมต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการต่างๆ 3. สมาชิกสภาท้องถิ่น ฝ่ายบริหารท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน จะเป็นการเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมก็ได้ 4. ต้องมีฐานะทางกฎหมายเพื่อรับผิดและรับชอบในการบริหารงานของตนเอง “เป็นนิติบุคคล”

  45. สาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่นสาระสำคัญของการปกครองท้องถิ่น • รัฐบาลกลางกำกับดูแล ไม่ใช่ควบคุม • ท้องถิ่นมีความเป็นอิสระเฉพาะในส่วนที่จะบริหารกิจการต่างๆของท้องถิ่นตนเองเท่านั้น

  46. บทบาทของการปกครองท้องถิ่นบทบาทของการปกครองท้องถิ่น • ให้การศึกษาทางการเมือง Political Education • ก่อให้เกิด และกระตุ้นการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อย่างมีเหตุผล สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ ความสามัคคี การเป็นสมาชิกชุมชนเดียวกัน • สร้างและฝึกอบรมผู้นำทางการเมือง

  47. บทบาทของการปกครองท้องถิ่นบทบาทของการปกครองท้องถิ่น • สร้างเสถียรภาพทางการเมืองสร้างความเสมอภาคทางการเมือง • ก่อให้เกิดความรับผิดชอบของผู้นำต่อประชาชน Accountability • ตอบสนองและสร้างประสิทธิภาพในการบริหารงานท้องถิ่น

  48. แนวคิดการปกครองท้องถิ่นในสองทศวรรษที่ผ่านมา พัฒนาออกเป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะแรก การปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น ลักษณะที่สอง การปกครองท้องถิ่นโดยรัฐบาล รัฐบาลกลางเข้าไปจัดการและมีบทบาทมากเป็นพิเศษ ส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น “ ไม่มีอิสระ” (ชนชั้นนำ สั่งการ ประชาชนมีส่วนร่วมน้อย)

  49. รูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น • การประชุมเมือง Town Meeting • สภา – นายกเทศมนตรี • นายกเทศมนตรี แบบอ่อน • นายกเทศมนตรี แบบมีอำนาจมาก • แบบผู้จัดการ • แบบคณะกรรมการ

  50. การบริหารจัดการท้องถิ่นการบริหารจัดการท้องถิ่น ปัจจุบัน การเมือง การปกครองท้องถิ่นของหลายๆประเทศ มีการดำเนินงานที่ซับซ้อนมากขึ้น มีผู้เข้าร่วมมากขึ้น ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมมากขึ้นในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายท้องถิ่นเช่น ยาเสพติดในชุมชน ขยะ น้ำท่วม อาคารสูง น้ำเสียจากโรงงาน การบริหารจัดการท้องถิ่นจึงนัยที่หมายถึง กระบวนการดำเนินการร่วมกันโดยหลายภาคส่วนเพื่อบรรลุกิจการสาธารณะในเงื่อนไขที่ไม่อาจใช้อำนาจรัฐเพียงอย่างเดียวในการบรรลุภารกิจได้

More Related