1 / 52

วิทยานิพนธ์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบ การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ.

วิทยานิพนธ์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบ การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ. โดย สมัครสมร ภักดีเทวา. ค วามเป็นมา และความสำคัญของปัญหา. STOU 2523. จุ ดแข็ง. จุ ดอ่อน. ขยายโอกาส ทางการศึกษา ค่าใช้จ่ายต่ำ เอกสาร การสอน. เอกสาร ปรับปรุงนาน ปฏิสัมพันธ์

prentice
Download Presentation

วิทยานิพนธ์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบ การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยานิพนธ์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบ การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ. โดย สมัครสมร ภักดีเทวา

  2. ความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา

  3. STOU 2523

  4. จุดแข็ง จุดอ่อน • ขยายโอกาส ทางการศึกษา • ค่าใช้จ่ายต่ำ • เอกสาร การสอน • เอกสาร ปรับปรุงนาน • ปฏิสัมพันธ์ ผู้สอนกับ ผู้เรียน (สุมาลี สังข์ศรี และคณะ 2533, ปิยฉัตร 2540, กองแผนงาน 2542, ปัทมาพร และคณะ 2548)

  5. Moore (1996) Threlkerld (1994) Relan & Gillani (1995) Thomas M. Welsh (1997)

  6. STOU PLAN 2000 • ลดจุดอ่อน พัฒนาจุดแข็ง • เพิ่มทางเลือกให้ผู้เรียน • 2547 e-University (2547-2551)

  7. STOU 2000 e-University

  8. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. ศึกษาความคิดเห็นของอาจารย์ นักศึกษา เกี่ยวกับการจัด การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ของ มสธ. 2. ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนอีเลิร์นนิ่ง ของ มสธ. 3. เพื่อสร้างรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา ของ มสธ. 4. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ของ มสธ. 5. เพื่อนำเสนอรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา ที่เหมาะสมสำหรับ มสธ.

  9. กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. ระบบการเรียนการสอนทางไกลของ มสธ. 2. การออกแบบระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง 3. การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง 4. การเรียนรู้ร่วมกัน 5. การเรียนแบบโครงการ

  10. ระบบการเรียนการสอนทางไกลระบบการเรียนการสอนทางไกล ระบบการเรียนการสอนทางไกลของ มสธ. แผน มสธ. 2543 (STOU PLAN 2000) 1. ระบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Print-Based Approach) 1.1 ออกแบบสื่อหลัก 1.2 ออกแบบสื่อเสริม 1.3 ออกแบบการสอนเสริม 1.4 ออกแบบการสัมมนาเสริม 1.5 พัฒนาระบบประเมิน กิจกรรม 2. ระบบการสอนทางไกลผ่าน สื่อคอมพิวเตอร์ (Computer-Based Appoarch) 1.1 ออกแบบสื่อหลัก 1.2 ออกแบบสื่อเสริม 1.3 ออกแบบการสอนเสริม 1.4 ออกแบบชุดการสอนเสริม 1.5 พัฒนาระบบการสอน ผ่านจอภาพ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 2551)

  11. ระบบการเรียนการสอนทางไกลระบบการเรียนการสอนทางไกล วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต 2545 (AU-CIDE Plan) ระบบสนับสนุน 4 ระบบ ระบบหลัก 1 ระบบ 9 ขั้นตอน 1. ศึกษาตามต้องการของสังคม 2. กำหนดมาตรฐานบัณฑิต 3. พัฒนาหลักสูตร 4. ผลิตชุดการสอน 5. ออกแบบสภาพการเรียนรู้ 6. นำส่งบทเรียน 7. ฝึกปฏิบัติและฝึกประสบการณ์ มืออาชีพ 8. การประเมินผล 9. การประกันคุณภาพ 1. ระบบการพัฒนาหลักสูตร 2. ระบบการผลิตบทเรียน 3. ระบบการนำส่งบทเรียน 4. ระบบการประเมินผลบทเรียน

  12. ระบบการเรียนการสอนทางไกลระบบการเรียนการสอนทางไกล ประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา 2548 ระบบการศึกษาทางไกล 1. ระบบการศึกษาทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อหลัก 2. ระบบการศึกษาทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก 3. ระบบการศึกษาทางไกลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก 4. ระบบการศึกษาทางไกลอินเตอร์เน็ต 5. ระบบการศึกษาทางไกลด้วยการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ

  13. การออกแบบระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งการออกแบบระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง e-Learning Instructional Design - ADDIE Model - Multimedia-based Instructional Design Model (Lee & Owens, 2000) - Rapid Prototyping Model (Rapid E-Learning) (Piskurich, 2000) - WBID Model (Davidson-Shivers & Rasmussen, 2006)

  14. การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง(e-Learning)การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง(e-Learning) 1. การออกแบบการเรียน การสอนเล็กทรอนิกส์ Phillip (1996), Angeo (1998), Peter A.Santi (1997), Chizmar and other (1999), zhao (1998) , Mc, greal (1997), Khan (1997) ฯลฯ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2546) ศรีศักดิ์ จามรมาน (2547) ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) มสธ. (2546) อนุชัย เรืองไชยศรี (2545) 2. ผู้สอนออนไลน์ - บทบาทของผู้สอน - ลักษณะของผู้สอน - ความรู้และทักษะ การใช้คอมพิวเตอร์ (Kaye and Rumble 1991, Allam Elis and Robyn Weatherley 2000, Rochester Instute Of teehuology 2000, Jane Kricher 2001) 3. ผู้เรียนออนไลน์ - บทบาทของผู้เรียน - ลักษณะของผู้เรียน - ความรู้และทักษะ การใช้คอมพิวเตอร์ (Candy 1991, Garrism 1997, Mezirow 1991) (Rena M Pallo ff, Keith Pratt, 2005)

  15. การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) 1. หลักการเรียนรู้ร่วมกัน 2. รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกัน 3. วิธีการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน 4. การประเมินผล Collaborative Learning (Stephen 1992,Balk com 1992, Rockwood 1995,Cooper & Robinson 1997, Bruffe 1995, Harrasim 1990,Wiersema 2000, Mc Alpline 2000, Panitz 2001)

  16. การเรียนแบบโครงการ (Project Base Learning) 1. ขั้นตอนการเรียนแบบโครงงาน 2. รูปแบบการเรียนแบบโครงงาน 3. การประเมินผล (Katz and Chard 1994, Gandini andForman 1993, Von and Cooper 2000,Yong and Hanquinet 2000, สุชาติ วงศ์สุวรรณ 2542,วัชระ เล่าเรียนดี 2548)

  17. กรอบแนวคิดการวิจัย ระบบการเรียนการสอนทางไกล การออกแบบระบบ การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง - STOU PLAN 2000 - AU - CIDE PLAN 2002 - ประกาศคณะกรรมกาอุดมศึกษา 2548 ระบบการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง

  18. กรอบแนวคิดการวิจัย การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียน แบบโครงงาน การออกแบบการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง

  19. กรอบแนวคิดการวิจัย ระบบการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง การออกแบบการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง รูปแบบการออกแบบ การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง สำหรับบัณฑิตศึกษา มสธ.

  20. กรอบแนวคิดการวิจัย ระบบการเรียนการสอนทางไกล การออกแบบ ระบบการเรียน การสอน อีเลิร์นนิ่ง การเรียน การสอน อีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียน แบบโครงงาน - STOU PLAN 2000 - AU - CIDE PLAN 2002 - ประกาศคณะกรรมการ อุดมศึกษา 2548 ระบบการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง การออกแบบการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง สำหรับบัณฑิตศึกษา มสธ.

  21. วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นตอนหลัก 7 ขั้นตอน (ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์)

  22. ขั้นตอนที่ 1 : ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับต้นแบบชิ้นงานด้วยการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นที่ 1 ศึกษาเอกสาร งานวิจัยองค์ความรู้เกี่ยวกับต้นแบบชิ้นงาน ระบบการเรียนการสอนทางไกล, ระบบสื่อการศึกษาทางไกล, การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง, การเรียนรู้ร่วมกัน, การเรียนแบบโครงงาน, ผู้สอนออนไลน์, ผู้เรียนออนไลน์ ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาเป็นกรอบแนวคิด การจัดการเรียนการสอนทางไกลอีเลิร์นนิ่งสำหรับ มสธ.

  23. ขั้นตอนที่ 2 : ศึกษาความต้องการเกี่ยวกับต้นแบบชิ้นงาน ขั้นที่ 1 แบบสอบถาม อาจารย์ นักศึกษา เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง ของ มสธ. ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ สังเคราะห์ แบบสอบถาม เพื่อนำมาพัฒนา กรอบแนวคิด แนวทางการจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ขั้นที่ 3 นำผลสังเคราะห์ ขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 มาพัฒนากรอบแนวคิด การเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ.

  24. ขั้นตอนที่ 3 : พัฒนากรอบแนวคิดของต้นแบบชิ้นงาน ขั้นที่ 1 สร้างต้นแบบชิ้นงานการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง จากขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 ขั้นที่ 2 แก้ไข ปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา ขั้นที่ 3 ต้นแบบชิ้นงานการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ที่ผ่านการแก้ไข ปรับปรุง

  25. ขั้นตอนที่ 4 : สอบถามความคิดเห็น และข้อเสนอแนะผู้เชี่ยวชาญ ขั้นที่ 1 เสนอต้นแบบชิ้นงานการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง แก่ผู้เชี่ยวชาญ ขั้นที่ 2 แก้ไข ปรับปรุง ตามความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ขั้นที่ 3 ต้นแบบชิ้นงานการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ที่ผ่านการแก้ไข ปรับปรุง จากผู้เชี่ยวชาญ

  26. ขั้นตอนที่ 5 : (ร่าง)ต้นแบบชิ้นงาน ขั้นที่ 1 รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ. เพื่อไปทดสอบ

  27. ขั้นตอนที่ 6 : ทดสอบประสิทธิภาพ และรับรองต้นแบบชิ้นงาน ขั้นที่ 1 ทดสอบคุณภาพ : การทดลองใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่ง จำนวน 1 คน / กลุ่มเล็ก : 6 คน ขั้นที่ 2 แก้ไข ปรับปรุง ก่อนนำไปทดลองใช้จริง ขั้นที่ 3 ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ขั้นที่ 4 เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นที่ 5 สรุปผลการทดลองใช้ ขั้นที่ 6 ผู้ทรงคุณวุฒิรับรองต้นแบบชิ้นงาน

  28. ขั้นตอนที่ 7 : ปรับปรุงต้นแบบชิ้นงาน ขั้นที่ 1 นำผลที่ได้จากขั้นตอนที่ 6 มาแก้ไข ปรับปรุง เพื่อประเมินสรุปผล ขั้นที่ 2 นำเสนอรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ.

  29. ตารางแสดง การสังเคราะห์การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง Multimedia – based ID Model (Lee & Owens 2002) WBID Model (Davidson – Shivers & Rasmussen 2006) Rapid Prototype Model (Rapid e-Learning) (George M. Piskurich 2000) การออกแบบระบบการเรียน การสอนอีเลิร์นนิ่ง STOU PLAN 2000 AU - CIDE PLAN 2002 STOU eLID Model 1. กำหนดปรัชญา และ วิสัยทัศน์   2. ศึกษาสภาพ ปัญหา และ ความต้องการของสังคม       3. วิเคราะห์นักศึกษา และ กำหนดมาตรฐานบัณฑิต       4. การประเมิน การวิเคราะห์ ความต้องการ วิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์เบื้องต้น         5. กำหนดบริบทการเรียนรู้    6. การออกแบบ   7. การพัฒนาหลักสูตร       8. การพัฒนาชุดการสอน 9. การดำเนินการสอน การถ่ายทอด เผชิญมวล ประสบการณ์ และฝึกปฏิบัติ การนำส่งบทเรียน            10. การประเมินผล  11. การปรับปรุง และดูแลระบบ   12. การประกันคุณภาพ

  30. STOU eLID Model 6.1 วัตถุประสงค์ การเรียนการสอน 2.0 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการ ในการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง 6.2 วิธีการ และกลยุทธ์ ในการเรียนการสอน 6.3 เนื้อหา การเรียนการสอน 7.1 การผลิตบทเรียน e-Learning 1.0 ศึกษาอุดมการณ์ 3.0 วิเคราะห์ผู้เรียน 4.0 วิเคราะห์บริบท และ สภาพแวดล้อม 5.0 จัดการเนื้อหา และ ประสบการณ์ 6.0 ออกแบบ การเรียนการสอน 7.0 พัฒนาชุดการเรียน อีเลิร์นนิ่ง (courseware) และ กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ 8.0 ดำเนินการเรียน การสอนอีเลิร์นนิ่ง และ กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ 9.0 ประเมิน การเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง 6.4 เทคโนโลยี 7.2 การสร้างกิจกรรม ปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive 6.5 วิธีการเรียน 6.6 วิธีวัด และประเมินผล ปรับปรุงระบบ

  31. STOU eLID Model A D D I E 6.1 วัตถุประสงค์ การเรียนการสอน 2.0 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการ ในการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง 6.2 วิธีการ และกลยุทธ์ ในการเรียนการสอน 3.0 วิเคราะห์ผู้เรียน 6.3 เนื้อหา การเรียนการสอน 7.1 การผลิตบทเรียน e-Learning 5.0 จัดการเนื้อหา และ ประสบการณ์ 7.0 พัฒนาชุดการเรียน อีเลิร์นนิ่ง (courseware) และ กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ 8.0 ดำเนินการเรียน การสอนอีเลิร์นนิ่ง และ กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ 9.0 ประเมิน การเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง 1.0 ศึกษาอุดมการณ์ 4.0 วิเคราะห์บริบท และ สภาพแวดล้อม 6.0 ออกแบบ การเรียนการสอน 6.4 เทคโนโลยี 7.2 การสร้างกิจกรรม ปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive 6.5 วิธีการเรียน 6.6 วิธีวัด และประเมินผล ปรับปรุงระบบ

  32. 1.0 ศึกษาอุดมการณ์ ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ 1.1 ปรัชญา 1.2 วิสัยทัศน์ A (Analysis)

  33. 2.0 ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และ ความต้องการ ในการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง 2.1 วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน 2.2 วิเคราะห์ปัญหาของผู้สอน 2.3 วิเคราะห์ความต้องการ ของผู้สอน A (Analysis)

  34. 3.0 วิเคราะห์ผู้เรียน 3.1 ลักษณะทั่วไป 3.2 ความพร้อมในการรับสื่อ 3.3 ทักษะในการใช้สื่อ คอมพิวเตอร์ 3.4 วิเคราะห์ปัญหาผู้เรียน 3.5 วิเคราะห์ความต้องการ ของผู้เรียน A (Analysis)

  35. 4.0 วิเคราะห์บริบท และ สภาพแวดล้อม 4.1 วิเคราะห์สถานการณ์ และ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 4.2 เทคโนโลยี 4.3 ด้านบริหาร และจัดการระบบ A (Analysis)

  36. 5.0 จัดการเนื้อหา และประสบการณ์ 5.1 วิเคราะห์วัตถุประสงค์ 5.2 วิเคราะห์เนื้อหาชุดวิชา 5.3 วิเคราะห์รูปแบบการนำเสนอ 5.4 วิเคราะห์กิจกรรม 5.5 วิเคราะห์การวัดและประเมิน 5.6 วิเคราะห์ความคุ้มค่า A (Analysis)

  37. 6.0 การออกแบบ การเรียนการสอน 6.1 วัตถุประสงค์การเรียนการสอน 6.2 วิธีการ และกลยุทธ์ ในการเรียนการสอน 6.3 เนื้อหาการเรียนการสอน 6.4 เทคโนโลยี 6.5 วิธีการเรียน 6.6 วิธีวัด และประเมินผล D (Design)

  38. 7.0 พัฒนาชุดการเรียน อีเลิร์นนิ่ง (Courseware และ กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive) 7.1 ผลิตคู่มือการสอน 7.2 ผลิตขั้นตอนการเรียน 7.3 ผลิตบทเรียนe-Learning 7.4 สร้างกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive 7.5 สร้างแบบวัด และประเมินผล บทเรียน / กิจกรรม 7.6 สร้างแบบวัด และประเมินผล การสอน 7.7 ทดสอบประสิทธิภาพ 7.8 ปรับปรุง แก้ไข D (Development)

  39. 8.0 ดำเนินการเรียน การสอนอีเลิร์นนิ่ง และกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ 8.1 อบรม / ฝึกทักษะ ผู้สอน 8.2 อบรม / ฝึกทักษะ ขั้นตอนการเรียน 8.3 ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 8.4 วิเคราะห์ข้อมูล 8.5 สรุปผล 8.6 ปรับปรุง แก้ไข I (Implement)

  40. E (Evaluation) 9.0 ประเมินการเรียน การสอนอีเลิร์นนิ่ง การประเมินสรุปผล

  41. การจัดการเรียนการสอนบทเรียน e-Learning /กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive 1.1 ขั้นเตรียมความพร้อมผู้สอน / ผู้เรียน - ขั้นตอนการเรียนบทเรียน e-Learning(ปฐมนิเทศ,online) 1.2 ทำแผนการสอนบทเรียน e-Learning 1.3 ทำแผนกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive 1.4 ศึกษาคู่มือการสอน 1.5 ทดสอบผู้เรียนก่อนเรียน 1.6 แจ้งผลทดสอบผู้เรียน 1.0 ขั้นตอน ก่อนเรียน 2.1 ปฐมนิเทศชุดวิชา - รายละเอียดชุดวิชา - วิธีการศึกษา - ปฏิทินการศึกษา - วิธีวัดและประเมินผล - การติดต่อ 2.0 ขั้นตอน ระหว่างเรียน

  42. การจัดการเรียนการสอนบทเรียน e-Learning /กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ - แนะนำตนเอง - บทบาทและงานของสมาชิกในกลุ่ม 2.2 ศึกษาบทเรียน e-Learning - ประเมินผลก่อนเรียน - ศึกษาบทเรียน ประกอบด้วยแนวคิด การเสนอเนื้อหา ตามลำดับ การสรุป - ประกอบกิจกรรม - ประเมินผลหลังเรียน - รับทราบผล การประเมิน 2.3 กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive 2.3.1 เตรียมตัวก่อนทำ กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ (2 สัปดาห์) 2.3.2 การทำกิจกรรม ปฏิสัมพันธ์โดยใช้ หลักการเรียนรู้ ร่วมกัน และ การเรียนแบบ โครงงาน 5 ขั้นตอน 1) เตรียมการ วางแผนโครงงาน (1 สัปดาห์) 2) เริ่มต้นโครงงาน (1 สัปดาห์) 3) ดำเนินโครงงาน (2 สัปดาห์) 4) สรุปผลโครงงาน (1 สัปดาห์) 5) นำเสนอโครงงาน (1 สัปดาห์) 2.3.3 ส่งโครงงาน - แบ่งกลุ่ม - เลือกหัวหน้ากลุ่ม / เลขากลุ่ม - ระดมสมองเลือกประเด็นหัวข้อโครงงาน - ศึกษา / ค้นคว้า / หาข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม - เลือกหัวข้อโครงงาน - ทำหัวข้อโครงงานที่กลุ่มเลือก - กำหนดประเด็น - กำหนดขอบข่ายเนื้อหา - ทำโครงงานตามหัวข้อ ประเด็น เนื้อหา ตามวัตถุประสงค์ ที่กำหนดไว้ และตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายในกลุ่ม - ระดมสมองเพื่อสรุปผล - สรุปผลโครงงาน - ทำรายงาน (ศึกษาบทเรียน e-Learning 1 Module ต่อ 1 สัปดาห์) - นำเสนอผลงานของกลุ่ม - สนทนา อภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น ของเพื่อนกลุ่มอื่นๆ / ผู้สอน

  43. 2.3 กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ Webinar Interactive 2.3.1 เตรียมตัวก่อนทำ กิจกรรมปฏิสัมพันธ์ (2 สัปดาห์) - กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ - แนะนำตนเอง - บทบาทและงานของสมาชิก ในกลุ่ม

  44. 2.3.2 การทำกิจกรรม ปฏิสัมพันธ์โดยใช้ หลักการเรียนรู้ ร่วมกัน และ การเรียนแบบ โครงงาน 5 ขั้นตอน 1) เตรียมการ วางแผนโครงงาน (1 สัปดาห์) - แบ่งกลุ่ม - เลือกหัวหน้ากลุ่ม / เลขากลุ่ม - ระดมสมองเลือกประเด็นหัวข้อ โครงงาน - ศึกษา / ค้นคว้า / หาข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม - เลือกหัวข้อโครงงาน

  45. - ทำหัวข้อโครงงานที่กลุ่มเลือก - กำหนดประเด็น - กำหนดขอบข่ายเนื้อหา 2) เริ่มต้นโครงงาน (1 สัปดาห์)

  46. - ทำโครงงานตามหัวข้อ ประเด็น เนื้อหา ตามวัตถุประสงค์ ที่กำหนดไว้ และตามบทบาท ที่ได้รับมอบหมายในกลุ่ม 3) ดำเนินโครงงาน (2 สัปดาห์)

  47. - ระดมสมองเพื่อสรุปผล - สรุปผลโครงงาน - ทำรายงาน 4) สรุปผลโครงงาน (1 สัปดาห์)

  48. - นำเสนอผลงานของกลุ่ม - สนทนา อภิปราย แลกเปลี่ยน ความรู้ ความคิดเห็นของเพื่อน กลุ่มอื่นๆ / ผู้สอน 5) นำเสนอโครงงาน (1 สัปดาห์)

  49. 2.3.3 ส่งโครงงาน

More Related