1 / 21

การศึกษาทางเลือก

การศึกษาทางเลือก. สำนักงาน กศน . สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ. กฎหมายหลัก. 1. รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 49 วรรคสาม ความว่า

primo
Download Presentation

การศึกษาทางเลือก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาทางเลือก สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ

  2. กฎหมายหลัก 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550มาตรา 49 วรรคสาม ความว่า “การจัดการศึกษา อบรมขององค์กรวิชาชีพหรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ย่อมได้รับความคุ้มครองและส่งเสริมที่เหมาะสมจากรัฐ”

  3. 2.พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไข (ครั้งที่ 2) พ.ศ. 2545 และ แก้ไข (ครั้งที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 12 ความว่า “นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง”

  4. 3.ร่าง พ.ร.บ.การศึกษาตลอดชีวิต พ.ศ. .... ขณะนี้กำลังเสนอ กฎหมายหลัก มาตรา 25 ข้อ 3 ความว่า“ให้สำนักงาน กศช.มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ ฯลฯ จัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาทางเลือกของประชาชน เพื่อเติมเต็มให้กับบุคคล ทั้งในวัยเรียนที่พลาดโอกาสทางการศึกษา ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และผู้ที่สนใจในการพัฒนาตนเอง ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม ต่อเนื่องตลอดชีวิต ฯลฯ”

  5. นิยามการศึกษาทางเลือกนิยามการศึกษาทางเลือก การศึกษาทางเลือกในมุมมองของ กศน. “การศึกษาทางเลือก เป็นการศึกษาเชิงนวัตกรรมที่มุ่งตอบสนองความหลากหลายบนพื้นฐานของความเคารพในคุณค่าความเป็นมนุษย์ของประชาชน ในการที่จะเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ในรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมกับตนเองของแต่ละบุคคล หรือกลุ่มบุคคล”

  6. กลุ่มเป้าหมายที่จัด/ให้บริการกลุ่มเป้าหมายที่จัด/ให้บริการ กลุ่มคุณแม่วัยใส(ปัญหาท้องไม่พร้อม) กลุ่มเยาวชนในสถานพินิจ กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ กลุ่มทหารกองประจำการ กลุ่มคนเร่ร่อน

  7. กลุ่มเป้าหมายที่จัด/ให้บริการกลุ่มเป้าหมายที่จัด/ให้บริการ  กลุ่มคนไทยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้  กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไทยในต่างประเทศ

  8. หลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ข้อสอบกลาง วิธีเรียน กศน. NT โดยใช้ e-Exam หลักสูตร กศน. ๒๕๕๑ รูปแบบการเรียนรู้ กศน. (ONIE MODEL) การศึกษา ขั้นพื้นฐาน สอบเทียบระดับ การศึกษา : e-Exam เน้นพหุภาคี (กศน.- สอศ. - สถานประกอบการ) หลักสูตร ปวช. พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ๑) การเรียนรู้รายบุคคล/รายกลุ่ม ๒) การจัดการเรียนการสอนโดยครู กศน./ ครูชาวบ้าน/อาสาสมัคร หลักสูตรการรู้หนังสือไทย ข้อสอบมาตรฐานหลักสูตรการรู้หนังสือไทย การรู้หนังสือ การจัดการศึกษา สำหรับกลุ่มชาติพันธุ์ พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ร่วมมือกับเครือข่าย ๑) คิด วิเคราะห์ เพื่อเข้าสู่อาชีพ/ การประกอบธุรกิจ โดยใช้กระบวนการคิดเป็น ๒) การเรียนทักษะอาชีพ ๓) การบริหารจัดการวิชาชีพ กำหนดวิธีการวัดและประเมินผล การศึกษา ต่อเนื่อง วิธีการเทียบโอนเข้าสู่หลักสูตร ๒๕๕๑ พัฒนาอาชีพ พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล พัฒนาสังคม ชุมชน พัฒนาคุณภาพชีวิต

  9. สาระการเรียนรู้ 5 สาระการเรียนรู้ บังคับสถานศึกษาทั้งหมด 5 สาระการเรียนรู้ (จำนวน ๑๔ รายวิชาบังคับ/ระดับการศึกษา) สาระการเรียนรู้ของหลักสูตร การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การศึกษาทางเลือก ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษา ตอนปลาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ของสถานศึกษา สาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา สาระการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียน และ ชุมชน สังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การศึกษาทางเลือก หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

  10. รูปแบบ/กิจกรรมการศึกษาทางเลือก สำนักงาน กศน. 1. การศึกษานอกระบบ

  11. 1.1 การเรียนรู้รายบุคคลตามวิถีชีวิตของผู้เรียนและบริบทของพื้นที่ ได้แก่ การศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 1.2 การเรียนรู้ด้วยตนเองโดยวิธีการศึกษาทางไกล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อกิจกรรม และสื่อบุคคล

  12. 1. การศึกษานอกระบบ (ต่อ) การศึกษาทางเลือกมีรูปแบบดังต่อไปนี้

  13. รูปแบบการศึกษาทางเลือกรูปแบบการศึกษาทางเลือก รูปแบบที่ 1 การจัดการศึกษาหลังการรู้หนังสือ รูปแบบที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อการเทียบโอน รูปแบบที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อการมีรายได้ รูปแบบที่ 4 การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิต

  14. รูปแบบการศึกษาทางเลือก (ต่อ) รูปแบบที่ 5 การจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริม ความสนใจ รูปแบบที่ 6 การจัดการศึกษาเพื่อให้ สอดคล้องกับอนาคต

  15. 2. การศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การศึกษาทางเลือกผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อการเรียน และสื่อมวลชน 2.2 การศึกษาทางเลือกผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ วิทยุและโทรทัศน์เพื่อการศึกษา โทรศัพท์มือถือ (App ETV) สื่ออื่นๆ

  16. 2. การศึกษาตามอัธยาศัย (ต่อ) 2.3 การศึกษาทางเลือกผ่านแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ สถานที่ท่องเที่ยว ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา บ้านหนังสืออัจฉริยะ และแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ 2.4 การศึกษาทางเลือกผ่านภูมิปัญญา ได้แก่ พ่อครู แม่ครู ปราชญ์ชาวบ้าน แพทย์พื้นบ้าน ผู้นำทางศาสนา

  17. 3. การศึกษาทางเลือกในเชิงนวัตกรรมทางการศึกษา เป็นการจัดการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายในรูปแบบ “การเทียบระดับการศึกษาใน ระดับสูงสุดของการศึกษา ขั้นพื้นฐาน”

  18. การศึกษาทางเลือกในเชิงนวัตกรรมทางการศึกษาการศึกษาทางเลือกในเชิงนวัตกรรมทางการศึกษา 3.1 เป็นแนวคิด วิธีการและกระบวนการใหม่ในการแก้ปัญหากำลังแรงงานที่ด้อยทักษะหรือจบระดับประถมศึกษาหรือ ม.ต้น แล้วไม่ได้ศึกษาต่อ 3.2 เป็นกำลังแรงงานที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ที่มีอาชีพเป็นหลักแหล่งไม่น้อยกว่า 3 ปี 3.3 ให้สามารถนำผลการเรียน ความรู้ ประสบการณ์ มาประเมินเทียบระดับการศึกษาในระดับสูงสุดของการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  19. การศึกษาทางเลือกในเชิงนวัตกรรมทางการศึกษา(ต่อ)การศึกษาทางเลือกในเชิงนวัตกรรมทางการศึกษา(ต่อ) 3.4 ให้มีมาตรฐานการเรียนรู้ ระดับการศึกษา และเครื่องมือวัดผลและประเมินผล 3.5 สร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ ทั้งภาคทฤษฎี และประสบการณ์แบบโมดูล 3.6 เป็นบุคคลที่มีความรู้ และทักษะพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอาเซียน

  20. ก้าวเดินต่อไปของการศึกษาทางเลือก กศน. ขับเคลื่อนการศึกษาทางเลือกผ่านร่างพระราชบัญญัติการศึกษาตลอดชีวิต พ.ศ. .... ในปีงบประมาณ พ.ศ.2557 2.1 ให้มีโครงการการศึกษาทางเลือกเพื่อสร้างความชัดเจนเกี่ยวกับมโนทัศน์ที่สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ของ สำนักงาน กศน. 2.2 การศึกษาวิจัยกรณีศึกษาการศึกษาทางเลือกทั้งในและต่างประเทศ รูปแบบการศึกษาทางเลือก สำหรับสังคมไทยในทศวรรษที่ 21

  21. สวัสดี

More Related