760 likes | 862 Views
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ. นายแพทย์ธำรงค์ สมบุญตนนท์. ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 1. 2. 3. 4. ประเด็นนำเสนอ. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ. ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
E N D
การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ นายแพทย์ธำรงค์ สมบุญตนนท์ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
1 2 3 4 ประเด็นนำเสนอ ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ แนวทางการประเมินยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายกระทรวง กลุ่มภารกิจและส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
1 ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
1 ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
หลักการบริหารราชการที่ดีตาม มาตรา 3/1 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2545 • การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน
มาตรา 3/1 - พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545 • การจัดสรรงบประมาณและการบรรจุ และแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่งในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของ ผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการ ให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติ ราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้
G3 ยกระดับขีด ความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าสากล G1 พัฒนาคุณภาพการให้บริการ ประชาชนดีขึ้น G2 ปรับบทบาท ภารกิจและ ขนาดให้เหมาะสม G4 ตอบสนองต่อ การบริหาร การปกครองในระบอบประชาธิปไตย S3 S1 ปรับระบบการเงินและงบประมาณ S2 S7 S4 ปรับเปลี่ยน กระบวนการ และวิธีการทำงานโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปรับปรุง โครงสร้างการบริหารราชการ แผ่นดิน เปิดระบบราชการให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม ปรับระบบการบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ S5 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยม S6 เสริมสร้างระบบราชการ ให้ทันสมัย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2546-2550)
1 ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 1 กำหนดให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ปรับปรุงระบบการประเมินผลการดำเนินงาน โดยจัดให้มีการเจรจาและจัดทำข้อตกลง ว่าด้วยผลงานประจำปี ให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์และแผนดำเนินงานรายปี กับหัวหน้าส่วนราชการไว้ล่วงหน้า รวมทั้งให้มีการติดตาม ประเมินผลทุกสิ้นปี และใช้เป็นเงื่อนไขในการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ส่วนราชการ
พรฏ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ 7. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3. มีประสิทธิภาพ/คุ้มค่า 1. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 6. อำนวยความสะดวกตอบสนองความต้องการ ของประชาชน 4. ลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น 5. ปรับปรุงภารกิจ/โครงสร้างให้เหมาะสม หมวด 1 มาตรา 6
การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ จัดทำแผนปฏิบัติงานล่วงหน้า (มาตรา 9) บริหารแบบบูรณาการ (มาตรา 10) - แผนบริหารราชการแผ่นดิน (มาตรา 13, 14) - มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ - แผนนิติบัญญัติ(มาตรา 15) - สนับสนุนผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้าคณะผู้แทนในต่างประเทศ ส่วนราชการ - แผนปฏิบัติราชการ(มาตรา 16) - ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2546 - แผนงบประมาณ (มาตรา 17,18) ติดตาม/ประเมินผล (มาตรา 9) - ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ./2546 - ทำความตกลง(มาตรา 12) (Performance Agreement) - แก้ไขผลกระทบต่อประชาชน (มาตรา 9) องค์การแห่งการเรียนรู้(มาตรา 11) - รายงานผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 16)
2 ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2 กำหนดการ เอกสารที่ต้องจัดเตรียมในแต่ละขั้นตอน การจัดทำคำรับรอง ส่วนราชการ ที่ปรึกษา ก.พ.ร. 24-30 ก.ย. 47 ทบทวน/จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 18-22 ต.ค. 47 แผนยุทธศาสตร์ กระทรวง/กลุ่มภารกิจ กระทรวง/กลุ่มภารกิจ ส่งแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนให้กับสำนักงาน ก.พ.ร. คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล ผู้แทนของส่วนราชการ สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษา ก.พ.ร. (ทริส) ร่วมกันพิจารณาความเหมาะสมของ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนของกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 26 ต.ค. – 5 พ.ย. 47 รายงานสรุปตัวชี้วัด ระดับกระทรวง/ กลุ่มภารกิจ 8-12 พ.ย. 47 คำรับรอง การปฏิบัติราชการ กระทรวง/กลุ่มภารกิจ สำนักงาน ก.พ.ร. นำแผนยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองและคณะรัฐมนตรี และลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับกระทรวง/กลุ่มภารกิจ 26 พ.ย. 47 แผนยุทธศาสตร์ ส่วนราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า กรมส่งแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนให้กระทรวง/กลุ่มภารกิจ พิจารณาความเหมาะสม จากนั้นกระทรวง/กลุ่มภารกิจส่งแผนยุทธศาสตร์ฯดังกล่าวต่อไปยัง สำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผลและ อ.ก.พ.ร. 30 ธ.ค. 47 คำรับรอง การปฏิบัติราชการ ส่วนราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า รายงานสรุปตัวชี้วัด ส่วนราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งผลการพิจารณาของคณะกรรมการเจรจาฯ และ อ.ก.พ.ร. ให้กระทรวง/กลุ่มภารกิจทราบเพื่อให้กรมปรับปรุงแก้ไข กรมดำเนินการแก้ไขแผนยุทธศาสตร์ฯ จากนั้น กระทรวง/กลุ่มภารกิจ จัดให้มีการลงนามคำรับรองฯระดับกรมและส่งคำรับรองฯ ดังกล่าวไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. 15 ม.ค. 48 ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2 กรณีส่วนราชการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด ขอให้จัดทำเป็นหนังสือส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ภายใน 31 มี.ค. 48 และสำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งผลการพิจารณาของ อ.ก.พ.ร. ให้ส่วนราชการทราบภายในเดือนเมษายน ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินผล การติดตามผล 31 ต.ค. 48 ส่วนราชการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติราชการ (Self Assessment Report) ให้สำนักงาน ก.พ.ร. 31 ม.ค. 48 ส่วนราชการจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้สำนักงาน ก.พ.ร . และส่งประเด็นการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการ ณ ส่วนราชการ (Site visit : Post-Evaluation) 1-30 พ.ย. 48 ส่วนราชการจัดส่งรายงานการติดตามงาน รอบ 6 เดือน (1 ต.ค.47-31 มี.ค.48) ให้สำนักงาน ก.พ.ร. 15 เม.ย. 48 ม.ค. 49 ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผล/นำเสนอคณะกรรมการ เจรจาข้อตกลงและประเมินผล สำนักงาน ก.พ.ร.วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน คณะกรรมการเจรจาข้อตกลงและประเมินผล และ สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอคณะรัฐมนตรี สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามความก้าวหน้า การปฏิบัติราชการ ณ ส่วนราชการ (Site visit : Pre-Evaluation) 1-30 พ.ค. 48 นายกรัฐมนตรี/คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ไม่อนุมัติ ส่วนราชการจัดส่งรายงานการติดตามงาน รอบ 9 เดือน (1 ต.ค.47-30 มิ.ย.48) ให้สำนักงาน ก.พ.ร. 15 ก.ค. 48 แก้ไข อนุมัติ นำผลการประเมินไปเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ
3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1: มิติด้านประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย ตามที่ได้รับงบประมาณมา ดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อ ประชาชน มิติที่ 2: มิติด้านคุณภาพการให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับลูกค้าในการบริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 3: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติ ราชการ เช่น การลดระยะเวลาการ ให้บริการ และการลดค่าใช้จ่าย เป็นต้น มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กร
3 ประเด็นการประเมินผล มิติ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : 40) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ (น้ำหนัก : 60) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : 10) • ความพึงพอใจของ ผู้มารับบริการ • การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ • การบริหารความรู้ในองค์กร • การลดค่าใช้จ่าย • การลดระยะเวลาการให้บริการ • ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ • การจัดการสารสนเทศ - กระทรวง - กลุ่มภารกิจ - กรม - เอกสารงบประมาณ • การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง • แผนพัฒนากฎหมาย
3 ประเด็นการประเมินผล มิติ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : 40) มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ (น้ำหนัก : 60) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : 10) • ความพึงพอใจของ ผู้มารับบริการ • การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ • การบริหารความรู้ในองค์กร • การลดค่าใช้จ่าย • การลดระยะเวลาการให้บริการ • ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ • การจัดการสารสนเทศ - กลุ่มจังหวัด - จังหวัด - นโยบายรัฐบาล • การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง • แผนพัฒนากฎหมาย
เป้าหมายผลผลิต ตามเอกสาร งบประมาณ ยุทธศาสตร์ cluster ยุทธศาสตร์ กรม มิติด้านประสิทธิผล (Financial Perspective) การปรับปรุง การจัดการ เพื่อสนับสนุน จังหวัด/ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข คนไทยแข็งแรง ความพึงพอใจ ผู้รับบริการ มาตรการป้องกันและ ปราบปรามทุจริต มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ (Customer Perspective) มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติ (Internal-Business-Process Perspective) ลดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลา การให้บริการ คุณภาพการจัดการ สารสนเทศ แผนปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริหาร ความรู้ภายในองค์กร การบริหาร การเปลี่ยนแปลง มิติด้านการพัฒนาองค์กร (Learning and Growth Perspective) แผนพัฒนากฎหมาย
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (ร้อยละ) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ 60 • ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวง 10 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มภารกิจ 15 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนยุทธศาสตร์ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า 20 4. ร้อยละของความสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) 5 5. ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (ร้อยละ) มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ 60 • ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 25 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัด (4 ตัวชี้วัดย่อย) 25 3. สัมฤทธิผลตามนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ( 4 ตัวชี้วัดย่อย) 10
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (ร้อยละ) มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 10 • คุณภาพการให้บริการ 6. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5 • การป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ 7. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 5 มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 10 • การลดค่าใช้จ่าย 8. ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ 5 • การลดระยะเวลาการให้บริการ 9. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลา ของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 5
3 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (ร้อยละ) มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร 20 • การบริหารความรู้ในองค์กร 10. ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหารความรู้ภายในองค์กรปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 5 • การจัดการสารสนเทศ 11. ระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศของส่วนราชการ 5 • การบริหารการเปลี่ยนแปลง 12. ระดับความสำเร็จของการจัดทำและคุณภาพของข้อเสนอการ เปลี่ยนแปลงของส่วนราชการ 10 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3 ประเด็นการประเมินผล น้ำหนัก (ร้อยละ) มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร 20 • การบริหารความรู้ในองค์กร 8. ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหารความรู้ภายในองค์กรปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 5 • การจัดการสารสนเทศ 9. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศของจังหวัด 5 • การบริหารการเปลี่ยนแปลง 10. ระดับความสำเร็จของการจัดทำและคุณภาพของข้อเสนอการ เปลี่ยนแปลงของส่วนราชการ 10 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
4 แนวทางการประเมินยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายกระทรวง กลุ่มภารกิจ และส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า
แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อรองรับการปฏิบัติราชการ ปี 2548
ประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์กระทรวงประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์กระทรวง เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนลดลง คนไทยแข็งแรง
เป้าประสงค์และตัวชี้วัดเป้าประสงค์และตัวชี้วัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1. ร้อยละ 3 ของอัตราการเพิ่มการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สำคัญ และโรคที่เกิดจากพฤติกรรมของคนไทยลดลง ปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญของประชาชน ลดลง 2. ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มี หลักประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพ 3. ร้อยละ 80 ของความพึงพอใจของ ผู้รับบริการสุขภาพ
กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพ เพื่อให้คนไทยมีสุขภาพที่ดี นำสู่การเป็นเมืองไทยแข็งแรง คนไทยแข็งแรง ประเด็นยุทธศาสตร์ (สธ.) เป้าประสงค์ (สธ.) ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนลดลง ประเด็นยุทธศาสตร์ (กลุ่มภารกิจ) ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพได้มาตรฐาน ประชาชนมี หลักประกัน สุขภาพ ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพกายและจิต ที่เหมาะสม ประชาชนบริโภคอาหารที่ปลอดภัย ผู้เสพและผู้ติดยาเสพติดได้รับการบำบัด รักษา ฟื้นฟู อัตราการป่วยจากโรคที่เป็นสาเหตุ จากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมลดลง
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ การกำหนดน้ำหนักผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ ส่วนราชการที่ได้สำรวจและทบทวนภารกิจแล้วพบว่ามีเรื่องที่ส่วนราชการจะสามารถสนับสนุนยุทธศาสตร์และ/หรืองานบริการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด รวมถึงระบบ ฐานข้อมูลจังหวัด กรณีที่ 1 ส่วนราชการที่ได้สำรวจและทบทวนภารกิจแล้วไม่พบว่ามีเรื่องที่ส่วนราชการจะสามารถสนับสนุนยุทธศาสตร์และ/หรืองานบริการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด รวมถึงระบบ ฐานข้อมูลจังหวัดและ ก.พ.ร. เห็นชอบให้ยกเลิกตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการ ปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัด” กรณีที่ 2
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ การกำหนดน้ำหนักผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์สำหรับส่วนราชการที่มีกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดตาม แผนยุทธศาสตร์ ของกระทรวง ตัวชี้วัดตาม แผนยุทธศาสตร์ ของกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดตาม แผนยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ระดับกรม หรือเทียบเท่า ตัวชี้วัดตาม เป้าหมายผลผลิต ของส่วนราชการ การปรับปรุง การบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุน การดำเนินงาน ของจังหวัด รวม กรณีที่ 1 10 15 20 5 10 60 10 20 25 5 - 60 กรณีที่ 2
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ พิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเป้าหมายแต่ละตัวชี้วัด (Key Performance Indicator ; KPI) ที่บรรลุผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ โดยการกำหนดน้ำหนักของตัวชี้วัดจะพิจารณาสอดคล้องกับลำดับความสำคัญของยุทธศาสตร์ที่ส่วนราชการกำหนด ตัวชี้วัด ระดับ กระทรวง ตัวชี้วัด ระดับ กลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัด ระดับกรม หรือเทียบเท่า ต้องเป็นตัวชี้วัดที่ไม่ซ้ำกันหรือ มีเป้าหมายเหมือนกัน
กลยุทธ์การถ่ายทอด KPIs ตามโครงสร้างองค์กร เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ ของกระทรวง เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ ของกลุ่มภารกิจ เป้าประสงค์/ยุทธศาสตร์ ของกรม เป้าประสงค์/ ยุทธศาสตร์ ของกลุ่มงาน KPIs กระทรวง KPIs กลุ่มภารกิจ KPIs กรม KPIs กลุ่มงาน
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100 +/- ร้อยละ 5 ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของความสำเร็จตามเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย) (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) วัดผลสำเร็จจากร้อยละของผลผลิต (Output) เชิงปริมาณของงานหรือโครงการที่ส่วนราชการทำได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 เทียบกับเป้าหมายผลผลิตของตัวชี้วัดเชิงปริมาณสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ที่กำหนดไว้ตามเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2548” สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี เกณฑ์การให้คะแนน:
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ พิจารณาจากผลสำเร็จของการดำเนินการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของจังหวัดให้สามารถดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัดตามพื้นที่ (Agenda-Based) ที่สำคัญๆ ของรัฐบาล งานบริการของส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค การกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด (POC) เกณฑ์การให้คะแนน: ผลสำเร็จ/ผลลัพธ์ที่ได้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์/เป้าหมายที่กำหนด ขั้นตอนที่ 1+2+3+4+5 ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน แสดงผลสำเร็จ/ผลลัพธ์ที่ได้รับอย่างเป็นรูปธรรม ขั้นตอนที่ 1+2+3+4 ดำเนินการตามแผน ติดตามและทบทวนอย่างสม่ำเสมอ และจัดทำรายงานการติดตามผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 1+2+3 จัดทำแผนปฏิบัติการเชิงบูรณาการ ซึ่งต้องได้รับ ความเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างส่วนราชการและกลุ่มจังหวัด จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขั้นตอนที่ 1+2 เลือกเรื่องที่จะสนับสนุน ยุทธศาสตร์และ/หรืองานบริการของกลุ่มจังหวัด จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากผลสำรวจของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (น้ำหนัก : ร้อยละ 10)
ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัดผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ตัวชี้วัด 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการบรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 25 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการบรรลุเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัด 25 • ตัวชี้วัดบังคับ 9 2.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (3) 2.2 ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. (3) 2.3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (3) • ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัด16
ผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัดผลสำเร็จตามแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด (ต่อ) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 3. สัมฤทธิผลตามนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล 10 3.1 ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งที่เอาชนะยาเสพติด (2.5) 3.2 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของคดีที่สามารถจับกุมผู้กระทำผิดได้ (2.5) 3.3 ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (2.5) 3.4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอาหารสด ตลาดสด ร้านอาหาร และ แผงลอย สถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่ผ่านมาตรฐานด้านสาธารณสุข (2.5)
ด้านคุณภาพการให้บริการด้านคุณภาพการให้บริการ คุณภาพการให้บริการ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 45 ร้อยละ 55 ร้อยละ 65 ร้อยละ 75 ร้อยละ 85 +/- ร้อยละ 10 มิติที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. จะเป็นผู้จัดจ้างหน่วยงานผู้ประเมินอิสระ ภายนอกมาดำเนินการสำรวจ • การสำรวจคลอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนี้ • (1) ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ • (2) ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ • (3) ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก • ผู้รับบริการ หมายถึง ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มารับบริการจากส่วนราชการ • ส่วนราชการสามารถเสนองานบริการที่จะประเมินได้จำนวน 3-5 งานบริการ • เกณฑ์การให้คะแนน:
ด้านคุณภาพการให้บริการด้านคุณภาพการให้บริการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ พิจารณาจากความคืบหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมาย แต่ละระดับ ผลสำเร็จในการดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) พิจารณาความสำเร็จ 2 ส่วน ดังนี้
ด้านคุณภาพการให้บริการด้านคุณภาพการให้บริการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ พิจารณาจากความคืบหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ประเมินผลการปฏิบัติตามแผน จัดทำรายงานประเมินความสำเร็จของแผนและผลสำเร็จโดยรวม โดยมีการสื่อสารกับบุคคลภายในและภายนอก และ ขั้นตอนที่ 1+2+3+4+5 ปฏิบัติตามแผน หรือ มาตรการในขั้นตอนที่ 3 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน ขั้นตอนที่ 1+2+3+4 นำข้อมูลที่ได้จากการร้องเรียนและการสอบถามในขั้นตอนที่2 มาใช้ในการทบทวนมาตรการและ/หรือวางแนวทาง หรือมาตรการเพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างยั่งยืน ขั้นตอนที่ 1+2+3 มีระบบรับฟังข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของหน่วยงาน ตอบรับข้อร้องเรียน รวมทั้งจัดทำแบบสอบถาม และวิเคราะห์ความเสี่ยงต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบในการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนที่ 1+2 • จัดตั้งศูนย์ประสานราชการใสสะอาด • ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม และให้ความรู้เกี่ยวกับภัยของการทุจรติคอร์รัปชั่น • สร้างเครือข่าย หน่วยงานใสสะอาด เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานในสังกัดเดียวกัน ขั้นตอนที่ 1 มิติที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) เกณฑ์การให้คะแนน:
ด้านคุณภาพการให้บริการด้านคุณภาพการให้บริการ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • อัตราส่วนของเรื่องร้องเรียนฯต่อจำนวนบุคลากรทั้งหมด • สัดส่วนของบุคลากรของจังหวัดที่มีมูลความผิดด้านการทุจริตคอร์รัปชั่นเทียบกับจำนวนบุคลากรของจังหวัดทั้งหมดลดลง • ให้รายงานผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม ผลสำเร็จในการดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เช่น
มิติที่ 3 งบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 - X 100 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 งบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 1 ร้อยละ 2 ร้อยละ 3 ร้อยละ 4 ร้อยละ 5 +/- ร้อยละ 1 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ การลดค่าใช้จ่าย ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • พิจารณาการใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 เปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรร โดยวัดผลสำเร็จของทุกงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ยกเว้นงบประมาณในหมวดเงินเดือน ค่าจ้างและสวัสดิการของข้าราชการและลูกจ้างประจำและไม่รวมงบประมาณรายจ่ายข้ามปีหรืองบประมาณรายจ่ายที่ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ในปีงบประมาณที่ล่วงมาแล้ว หรือที่ได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังให้เบิกเหลื่อมปีและได้มีการกันเงินไว้ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลัง • สูตรการคำนวณ: • เกณฑ์การให้คะแนน:
มิติที่ 3 ลดระยะเวลาลงได้ เกินร้อยละ 50 ลดระยะเวลาลงได้ ร้อยละ 30-50 ลดระยะเวลาลงได้ ไม่ถึงร้อยละ 30 ไม่ต้องนำมาประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 สามารถเลือกมาประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ได้ จะต้องนำมาประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ การลดระยะเวลาการให้บริการ ตัวชี้วัดที่ 9 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอน การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • พิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของระยะเวลาที่ลดได้ของแต่ละงานบริการประชาชนที่ส่วนราชการจัดส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. โดยที่ : จำนวนกระบวนงานที่ส่วนราชการเสนอ เพื่อประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 จำนวนกระบวนงานที่ถูกประเมินผล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของจำนวนกระบวนงานทั้งหมด + จำนวนกระบวนงานที่ถูกประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547
มิติที่ 3 การลดระยะเวลาการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 9 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอน การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • การคำนวณร้อยละของการลดรอบระยะเวลาการให้บริการ จะเปรียบเทียบระยะเวลาการให้บริการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 กับระยะเวลาการให้บริการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 โดยรวมระยะเวลารอคอยด้วย ทั้งนี้หากไม่มีข้อมูลพื้นฐานของ งานบริการที่นำมาประเมินผล ให้ใช้ข้อมูลปัจจุบันที่สามารถจัดเก็บได้เป็นข้อมูลฐานเพื่อใช้ในการประเมินผล • ให้ส่วนราชการระบุน้ำหนักที่จัดสรรให้แต่ละกระบวนงาน กรณีไม่ระบุมาจะถือว่าให้น้ำหนักเท่ากัน • สำหรับกระบวนงานที่มีสาขาให้บริการหลายแห่ง ให้ดำเนินการลดรอบระยะเวลาการให้บริการให้ครบทุกสาขา • ส่วนราชการส่วนกลางเสนอเฉพาะกระบวนงานที่มีปฏิบัติอยู่ในหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางเท่านั้น สำหรับในส่วนภูมิภาค ให้เป็นหน้าที่ของจังหวัดเป็นผู้เสนอ • หน่วยงานราชการส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในจังหวัด ให้นับเป็นงานของจังหวัด • ให้นำเรื่องการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานและประกาศให้ประชาชนทราบเป็นตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ด้วย • ให้นำผลการประเมินการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน และการประกาศให้ประชาชนทราบ ไปเป็นองค์ประกอบในการจัดสรรสิ่งจูงใจในรูปแบบต่างๆ ให้กับข้าราชการ และส่วนราชการใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 และปีต่อๆ ไป
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100 +/- ร้อยละ 5 ด้านการพัฒนาองค์กร มิติที่ 4 การบริหารความรู้ในองค์กร ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหาร ความรู้ภายในองค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • เป็นการประเมินผลต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 โดยพิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหารความรู้ภายในองค์กรปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 วัดผล เปรียบเทียบการดำเนินงานของกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงกับกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ในแผนฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 • ส่วนราชการใดยังดำเนินการจัดทำแผนฯ ดังกล่าวไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 หรือมี ความประสงค์ที่จะทบทวนแผนฯ ดำเนินการที่ได้จัดทำไว้ ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จ แล้วจัดส่งแผนฯ ให้กับสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2548 • เกณฑ์การให้คะแนน:
แผนปฏิบัติการบริหารความรู้ในองค์กรแผนปฏิบัติการบริหารความรู้ในองค์กร เป้าหมาย 1. พัฒนางาน 2. พัฒนาคน 3. พัฒนาฐานความรู้
แผนปฏิบัติการบริหารความรู้ในองค์กร (ต่อ) วิธีดำเนินการ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบและทีมงาน 2. กำหนด ‘ความรู้’ ที่จำเป็นต่อความสำเร็จขององค์กร 3. สำรวจและกำหนดโครงสร้างการจัดการความรู้ในองค์กร - แหล่งข้อมูล (บุคคล, ห้องสมุด,ศูนย์สื่อ ฯลฯ) - การสนับสนุน (ผู้บริหาร, เครือข่าย ฯลฯ) - เทคโนโลยี 4. สร้างการเข้าถึงความรู้และวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. โครงการนำร่องและแผนปฏิบัติการ 6. ติดตามประเมินผล
คุณภาพของระบบสารสนเทศ (น้ำหนัก : ร้อยละ 3) 1 การนำระบบสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ (น้ำหนัก : ร้อยละ 2) 2 ด้านการพัฒนาองค์กร มิติที่ 4 การจัดการสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศของส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • เป็นการประเมินเชิงคุณภาพ โดยพิจารณาระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศของส่วนราชการ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
คุณภาพของระบบสารสนเทศ(น้ำหนัก : ร้อยละ 3) ด้านการพัฒนาองค์กร มิติที่ 4 การจัดการสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศของส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) • มีหัวข้อในการพิจารณาดังนี้ : • ระบบฐานข้อมูล (Database) และความพร้อมใช้งานของข้อมูล (น้ำหนัก : ร้อยละ 1) • ระบบรักษาความปลอดภัย (Security) (น้ำหนัก : ร้อยละ 1) • ระบบการบริหารความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายในรูปแบบต่างๆและการฟื้นฟู ระบบ/ข้อมูลจากความเสียหาย (Recovery) (น้ำหนัก : ร้อยละ 1)
การนำสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ (น้ำหนัก : ร้อยละ 2) ด้านการพัฒนาองค์กร มิติที่ 4 การจัดการสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับคุณภาพของการจัดการสารสนเทศของส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 4) • มีหัวข้อในการพิจารณาดังนี้: • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการประชาสัมพันธ์ การให้ข้อมูลด้านบริการและกิจกรรมขององค์กร เช่น มีระบบ Internet, Intranet มีการนำการสื่อสารด้วยระบบอิเลคทรอนิคส์ เช่น E - Mail • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานภายในองค์กร เช่น นำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในด้าน การบริหารงานบุคคล (Personal Information Management : PIS) • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อทำการตลาด การผลิต หรือการให้บริการ เช่น การใช้เทคโนโลยีในการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหารในระดับองค์กร เช่น ระบบ Executive Information System : EIS
ผลสำเร็จในการจัดทำแผนการบริหารการเปลี่ยนแปลงโดยแผนดังกล่าวจะต้องได้ รับความเห็นชอบจากที่ปรึกษาการบริหารการเปลี่ยนแปลง และสำนักงาน ก.พ.ร. (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) ระดับคุณภาพของข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการ(น้ำหนัก : ร้อยละ 5) ด้านการพัฒนาองค์กร มิติที่ 4 การบริหารการเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการจัดทำและคุณภาพของข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) • การบริหารการเปลี่ยนแปลงคือ การที่บุคคลในส่วนราชการดำเนินกระบวนการที่ใช้กระตุ้นและสนับสนุนส่วนราชการให้สามารถผ่านช่วงการปรับเปลี่ยนเพื่อเข้าสู่สภาพแวดล้อมใหม่ (Targeted environment) ในการทำงานได้อย่างสำเร็จ • พิจารณาความสำเร็จ 2 ส่วน ดังนี้