1 / 76

โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน

โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน. ใครเป็นผู้ทำโครงการ ทำให้ใคร เพื่อใคร. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน. ใครเป็นผู้ทำโครงการ - ทีมผู้ทำโครงการระดับชุมชน ทำให้ใคร - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน เพื่อใคร - ผู้บริโภคในชุมชน.

qamar
Download Presentation

โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ใครเป็นผู้ทำโครงการ ทำให้ใคร เพื่อใคร

  2. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ใครเป็นผู้ทำโครงการ - ทีมผู้ทำโครงการระดับชุมชน ทำให้ใคร - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน เพื่อใคร - ผู้บริโภคในชุมชน

  3. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ใครเป็นผู้ทำโครงการ - ทีมผู้ทำโครงการระดับชุมชน คือใคร ทำให้ใคร - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน คือใคร เพื่อใคร - ผู้บริโภคในชุมชนคือใคร

  4. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ใครเป็นผู้ทำโครงการ - ทีมผู้ทำโครงการระดับชุมชน คือใคร ทำให้ใคร - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน คือใคร เพื่อใคร - ผู้บริโภคในชุมชนคือใคร เพื่อพัฒนากระบวนการจัดตั้งโรงเรียน อสม. และให้เกิดกลุ่มเครือข่ายองค์กรผู้บริโภคในระดับชุมชนที่มีความเข้มแข็งและยั่งยืน

  5. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ใครเป็นผู้ทำโครงการ - ทีมผู้ทำโครงการระดับชุมชน คือใคร ทำให้ใคร - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน คือใคร เพื่อใคร - ผู้บริโภคในชุมชนคือใคร เพื่อพัฒนากระบวนการจัดตั้งโรงเรียน อสม. และให้เกิดกลุ่มเครือข่ายองค์กรผู้บริโภคในระดับชุมชนที่มีความเข้มแข็งและยั่งยืนโดยใช้แผนที่ผลลัพธ์เป็นเครื่องมือในการวางแผนและติดตามประเมินผลโครงการ

  6. แผนที่ผลลัพธ์

  7. แผนที่ผลลัพธ์เป็น เครื่องมือในการ (1) วางแผน และ / หรือ(2)ติดตามประเมินผล โครงการโดยผู้ทำโครงการและเพื่อผู้ทำโครงการ

  8. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย

  9. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย คน กลุ่มคน หรือองค์กร ที่โครงการดำเนินการด้วยโดยตรง มีการเปลี่ยนพฤติกรรม ความสัมพันธ์ กิจกรรม หรือการกระทำ ไปในทิศทางที่คาดหวังไว้

  10. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย คน กลุ่มคน หรือองค์กร ที่โครงการดำเนินการด้วยโดยตรง มีการเปลี่ยนพฤติกรรม ความสัมพันธ์ กิจกรรม หรือการกระทำ ไปในทิศทางที่คาดหวังไว้ ผลลัพธ์ที่ท้าทาย ก็คือ วัตถุประสงค์ของโครงการ

  11. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย การติดตามผล

  12. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย การติดตามผล ประชุมทีม 2-3 เดือนต่อครั้งเพื่อทบทวนงานโครงการ เพื่อการเรียนรู้ และการปรับโครงการ

  13. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า การติดตามผล

  14. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย PM 3.1 เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า PM 2.2 PM 2.1 การติดตามผล PM 1.3 PM 1.2 PM 1.1 0

  15. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย PM 3.1 เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า PM 2x PM 2.2 PM 2.1 การติดตามผล PM 1.3 PM 1.2 PM 1.1 0

  16. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า การติดตามผล

  17. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภาคีหุ้นส่วน ผลลัพธ์ที่ท้าทาย เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า การติดตามผล

  18. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภาคีหุ้นส่วน ผลลัพธ์ที่ท้าทาย แผนที่ยุทธศาสตร์ เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า วิธีการทำงาน บันทึกยุทธศาสตร์ บันทึกผลลัพธ์ บันทึกวิธีการทำงาน การติดตามผล การประเมินผล

  19. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภาคีหุ้นส่วน ผลลัพธ์ที่ท้าทาย แผนที่ยุทธศาสตร์ เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า วิธีการทำงาน บันทึกยุทธศาสตร์ บันทึกผลลัพธ์ บันทึกวิธีการทำงาน การติดตามผล การประเมินผล

  20. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภาคีหุ้นส่วน ผลลัพธ์ที่ท้าทาย เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า วิธีการทำงาน

  21. วิสัยทัศน์

  22. สิ่งที่อยากเป็น (ภาพฝัน) โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ตำบลวังหิน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช

  23. สิ่งที่อยากเป็น (ภาพฝัน) 1. มีคณะทำงานคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน ที่ประกอบด้วยกลุ่มคนที่หลากหลาย ทุกภาคส่วนในชุมชนรวมตัวกันในรูปแบบกลุ่ม / ชมรม มาขับเคลื่อนกิจกรรมร่วมกันอย่างแท้จริง 2. คณะทำงานคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน มีการแบ่งบทบาท ภาระหน้าที่อย่างเหมาะสม ชัดเจน ทุกคนได้แสดงศักยภาพได้อย่างเต็มที่ เท่าเทียมกัน 3. มีรูปแบบขั้นตอนการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชนที่ชัดเจน โดยเกิดจากความคิดเห็นของคนในชุมชน ชุมชนดำเนินการกันเอง

  24. สิ่งที่อยากเป็น (ภาพฝัน) 4.มีแผนงานโครงการด้านคุ้มครองผู้บริโภคเป็นของชุมชนเอง แผนงานโครงการของชุมชนได้รับการบรรจุในแผนพัฒนาของท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนตำบล) 5.มีการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคที่มุ่งสู่การพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพาจากภายนอก เป็นต้นว่า ส่งเสริมให้เกิดความมั่นคงด้านอาหารในชุมชน ส่งเสริมการใช้พืชผักสมุนไพร ฯลฯ 6.มีมาตรการเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค โดยเฉพาะเรื่อง อาหาร ยา เครื่องสำอาง เป็นมาตรการของชุมชน และท้องถิ่นนำเข้าสู่ข้อบังคับในระดับตำบล

  25. สิ่งที่อยากเป็น (ภาพฝัน) 7.ด้านงบประมาณ มีการดำเนินงานในรูปแบบกองทุนระดับชุมชน มีการบริหารจัดการงบประมาณโดยชุมชนเองได้ 8.ชุมชนมีการคิดค้นส่งเสริมนวัตกรรม รูปแบบการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคใหม่ๆ ให้เท่าทันกับกระแสบริโภคนิยมที่เกิดขึ้นในสังคมปัจจุบัน 9.มีศูนย์การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน เพื่อเป็นศูนย์การทำงาน ศูนย์การเรียนรู้ รับเรื่องราวร้องทุกข์ และกิจกรรมอื่นๆของชุมชน

  26. สิ่งที่อยากเป็น (ภาพฝัน) 10.มีรูปแบบการติดตามประเมินผลที่เป็นรูปธรรม สามารถนำผลการประเมินมาพัฒนาต่อยอดงานที่จะดำเนินการต่อไปได้ 11.มีการจัดการความรู้ในงานคุ้มครองผู้บริโภค ถอดบทเรียน เก็บเรื่องราวที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างการเรียนรู้เกิดพัฒนาการที่ต่อเนื่อง 12.มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายในทุกระดับ และมีการสร้างการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์กันอย่างต่อเนื่อง

  27. งานคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน : การมีอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ปลอดภัย และ สิทธิผู้บริโภค ชุมชนบ้านสี่แยกสวนป่า ตำบลวังหิน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช

  28. สรุปภาพฝันอาหารปลอดภัยในชุมชนสรุปภาพฝันอาหารปลอดภัยในชุมชน 1. ผู้ผลิตมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก รับผิดชอบต่อสิ่งที่ผลิตออกมา รวมทั้งผู้ผลิตต้องมีภาพลักษณ์ที่ดี น่าเชื่อถือ 2.ผู้แปรรูป/ จำหน่ายอาหาร มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก รับผิดชอบต่อสิ่งที่แปรรูป จำหน่าย คำนึงถึงคุณค่าที่ผู้บริโภคได้รับมากว่าผลขาดทุนกำไรที่เกิดขึ้นตามกระแสบริโภคนิยม 3.อาหารต้องคำนึงถึงคุณค่า สด สะอาด ปลอดภัย เป็นธรรม สมราคา และผ่านการตรวจรับรองตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด 4.สถานที่ผลิต/ แปรรูป/ จำหน่าย/ บริโภค ได้รับการตรวจและผ่านเกณฑ์มาตรฐานแต่ละประเภทตามที่กำหนด 5.ผู้บริโภคต้องเรียนรู้ เข้าใจ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ของผู้บริโภค

  29. สรุปภาพฝัน ด้านยา 1. มีสถานที่จำหน่าย / บริการยา ที่ปลอดภัย ได้มาตรฐานในชุมชน (มีป้ายรับรองมาตรฐาน) 2.ไม่มีการจำหน่ายยาชุด / ยาที่ไม่ปลอดภัย ไม่มีการรับรองตามมาตรฐานในชุมชน 3.ผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการใช้ยาที่ถูกต้อง 4.มีทางเลือกอื่นในการใช้ยา เป็นต้นว่า สมุนไพร แพทย์แผนไทย 5.มีศูนย์ / องค์กร ดำเนินการควบคุม ป้องกันดูแลคนในชุมชน 6.มีมาตรการของชุมชนในการควบคุมดูแลยาที่มีในชุมชน

  30. สรุปภาพฝัน ด้านเครื่องสำอาง 1. มีกลุ่ม / องค์กร ตรวจสอบดูแลเครื่องสำอางในชุมชน 2.มีสถานที่จำหน่ายที่ถูกต้องได้มาตรฐาน มีป้ายรับรอง 3.มีมาตรการของชุมชนในการจัดการดูแลเครื่องสำอางที่มีจำหน่ายในชุมชน 4.มีการตรวจเฝ้าระวัง โดยใช้เครื่องมือตรวจสอบเครื่องสำอางที่คนในชุมชนดำเนินการเองได้

  31. งานคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน : การมีอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ปลอดภัย และ สิทธิผู้บริโภค ชุมชนบ้านสี่แยกสวนป่า ตำบลวังหิน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช วิสัยทัศน์ องค์กรคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชนบ้านสี่แยกสวนป่า องค์กรแห่งการเรียนรู้ เท่าทัน การบริโภคที่ปลอดภัย บนฐานของความพอเพียง พึ่งตนเอง

  32. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ตำบลวังหิน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช สิ่งที่อยากเป็น (ภาพฝัน) = วิสัยทัศน์

  33. พันธกิจ

  34. พันธกิจ สิ่งที่โครงการจะทำเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ (อ่านแล้วรู้ว่า ใครคือผู้รับประโยชน์ ใครคือภาคีหุ้นส่วน และยุทธศาสตร์ที่ใช้จะเป็นอย่างไร)

  35. ภาคีหุ้นส่วน

  36. ภาคีหุ้นส่วน คน กลุ่มคน หรือองค์กร ที่โครงการทำงานด้วยโดยตรง และหวังจะเห็นการพัฒนาพฤติกรรม (ความสัมพันธ์ การกระทำ กิจกรรม)

  37. ภาคีหุ้นส่วน คน กลุ่มคน หรือองค์กร ที่โครงการทำงานด้วยโดยตรง และหวังจะเห็นการพัฒนาพฤติกรรม (ความสัมพันธ์ การกระทำ กิจกรรม) ภาคีพันธมิตร คน กลุ่มคน หรือองค์กร ที่โครงการอาศัยร่วมทำงานด้วย ผู้รับประโยชน์ คน กลุ่มคน หรือองค์กร ที่โครงการตั้งใจให้ได้รับประโยชน์จากโครงการ

  38. BP โครงการ ผู้รับประโยชน์ BP = ภาคีหุ้นส่วน

  39. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ใครเป็นผู้ทำโครงการ - ทีมผู้ทำโครงการระดับชุมชน ทำให้ใคร - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน เพื่อใคร - ผู้บริโภคในชุมชน ผู้รับประโยชน์ - ภาคีหุ้นส่วน -

  40. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ใครเป็นผู้ทำโครงการ - ทีมผู้ทำโครงการระดับชุมชน ทำให้ใคร - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน เพื่อใคร - ผู้บริโภคในชุมชน ผู้รับประโยชน์ - ผู้บริโภคในชุมชน ภาคีหุ้นส่วน - องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน

  41. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชนโครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน ภาคีหุ้นส่วน – องค์กรผู้บริโภคระดับชุมชน หรือ 1. องค์กรผู้บริโภค หรือผู้ควบคุม 2. ผู้บริโภค 3. ผู้ประกอบการ

  42. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย

  43. ผลลัพธ์ที่ท้าทาย มีผลลัพธ์ที่ท้าทายสำหรับภาคีหุ้นส่วนแต่ละกลุ่ม และ ผลลัพธ์ที่ท้าทาย ต้องแสดงถึงพฤติกรรม ความสัมพันธ์ กิจกรรม หรือการกระทำของภาคีหุ้นส่วนนั้นๆ (ที่เปลี่ยนไปในทิศทางที่คาดหวังไว้)

  44. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้าเกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า

  45. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้าเกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า มีเกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้าหนึ่งชุด สำหรับผลลัพธ์ที่ท้าทายแต่ละข้อ และเกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้าแต่ละข้อ ต้องแสดงถึงพฤติกรรม ความสัมพันธ์ กิจกรรม หรือการกระทำของภาคีหุ้นส่วนนั้นๆ ที่เปลี่ยนไปในทิศทางที่คาดหวังไว้

  46. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้าเกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า ผลลัพธ์ที่ท้าทาย ริเริ่มทำเอง (ไม่ได้ให้ทำก็ทำ) ทำตามที่กำหนด (ให้ทำก็ทำ)

  47. วิธีการทำงาน (ขององค์กรที่ประสบความสำเร็จ)

  48. วิธีการทำงาน (ขององค์กรที่ประสบความสำเร็จ) แสวงหาความคิด โอกาส และทรัพยากรใหม่ๆ ฟังเสียงสะท้อนจากผู้ให้ข้อมูล หรือผู้ประเมิน แสวงหาความสนับสนุนจากหน่วยเหนือ 4. ทบทวนระบบ ผลลัพธ์ และการดำเนินงานอยู่เสมอ 5. ตรวจสอบกิจกรรมต่างๆที่ทำอยู่ เพื่อหาทางเพิ่มคุณค่า 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโลกภายนอก 7. ทดลองสิ่งใหม่ๆอยู่เสมอ 8. สะท้อนความเห็นกันเองภายในองค์กรอย่างสม่ำเสมอ

  49. การติดตามผล

More Related