350 likes | 533 Views
แผนสุขภาพด้านบริการ. แผนการ พัฒนาบริการ 10 สาขา แผนพัฒนา ระบบส่งต่อ แผนพัฒนา คุณภาพบริการ แผนการ แพทย์ฉุกเฉิน /อุบัติภัย แผน ยาเสพติด แผน โครงการ พระราชดำริ. แผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan). จังหวัดราชบุรี ปี 2557. ขีดความสามารถของโรงพยาบาลใน จ. ราชบุรี ปี 255 6. A.
E N D
แผนสุขภาพด้านบริการ แผนการพัฒนาบริการ 10 สาขา แผนพัฒนาระบบส่งต่อ แผนพัฒนาคุณภาพบริการ แผนการแพทย์ฉุกเฉิน /อุบัติภัย แผนยาเสพติด แผนโครงการพระราชดำริ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) จังหวัดราชบุรี ปี 2557
ขีดความสามารถของโรงพยาบาลใน จ. ราชบุรี ปี 2556 A รพ.แม่ข่ายระดับจังหวัด (รพ.ราชบุรี) S รพท. บ้านโป่ง M1 รพท. โพธาราม รพท.ดำเนินสะดวก F 1 รพร. จอมบึง F 2 รพช.5 แห่ง รพช.ปากท่อ, รพช.บางแพ, รพช.สวนผึ้ง, รพช.เจ็ดเสมียน, รพช.วัดเพลง P 1 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 6แห่งรพ.สต.ขนาดใหญ่ 9 แห่ง P 2 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) 148 แห่ง
เป้าหมาย • โรงพยาบาลมีการพัฒนาบริการตามเกณฑ์ ระดับ • 1,2,3,4 ใน 4 สาขาหลัก (หัวใจ มะเร็ง ทารก • แรกเกิด และอุบัติเหตุ) และสาขาอื่น ๆ 6 สาขา • 2. มีการเชื่อมโยงบริการทั้งแต่ระดับตติยภูมิสู่ทุติยภูมิ • และปฐมภูมิ มาตรการ ระดับจังหวัด เชื่อมโยงบริการระดับตติยภูมิ ทุติยภูมิ ไปสู่ ปฐมภูมิ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ์ Service Plan
แผนการดำเนินงานปี 57 ระดับจังหวัด 1.มาตรการ เชื่อมโยงบริการระดับตติยภูมิ ทุติยภูมิ ไปสู่ ปฐมภูมิ 1.1.โครงการ จัดประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายแต่ละสาขา ทั้ง 10 สาขา จากตติยภูมิ สู่ทุติยภูมิ และปฐมภูมิ แบบ “พี่ช่วยน้อง”โดยให้ รพ.ราชบุรี และประธานสาขา เป็นแกนหลัก สาขาจักษุ การคัดกรอง - จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยงที่จะดำเนินการคัดกรอง - คัดกรองโดย อสม.และเจ้าหน้าที่ สธ.ที่ผ่านการอบรม -ในรพช.ใช้เครื่องFundus Camera3 เครื่องใน 6รพช. การตรวจวินิจฉัย - จัดโซนการตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์เฉพาะทาง การรักษา - จัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วย เพื่อแยกประเภท ความเร่งด่วน - วางแผนการรักษา และจัดคิวการรักษาโดยการผ่าตัด
สาขาโรคเรื้อรัง 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ NCD System manager ทั้งระดับจังหวัด และระดับอำเภอ 2. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนอย่างบูรณาการ ทั้งระดับจังหวัดและ อำเภอและบูรณาการกับสาขาที่เกี่ยวข้อง (ตา ไต เท้า) 3. จัดระดับผู้ป่วย (ปิงปอง 7 สี) และจัดทำฐานข้อมูล 4. พัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย NCD ในสถานบริการทุกระดับ ตามแนวทาง NCD Clinic คุณภาพ ใน รพ.และ รพสต. 5. ติดตามประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเน้นกระบวนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม/ พัฒนาปรับปรุง 6.แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดบริการ NCD Clinic
แผนการดำเนินงานปี 57 ระดับจังหวัด 1.มาตรการ เชื่อมโยงบริการระดับตติยภูมิ ทุติยภูมิ ไปสู่ปฐมภูมิ (ต่อ) 1.2.โครงการ จัดประชุมผู้รับผิดชอบงาน Service Plan แต่ละหน่วยบริการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการดำเนินงาน 2.มาตรการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลตามเกณฑ์ Service Plan 2.1.โครงการ จัดประชุมทบทวนแผนงบลงทุน แผนงบค่าเสื่อม และแผนพัฒนาบุคลากร ปี 58-60 ตามกรอบการพัฒนา Service Plan
แผนของบพัฒนาบุคลากร ตาม service plan จังหวัดราชบุรี
สรุปแผนงานพัฒนาบริการ 10 สาขา • มี 45 มาตรการ • (ระดับจังหวัด 2 ,ระดับอำเภอ 43) • งบประมาณ
แผนพัฒนาระบบส่งต่อ อัตราการครองเตียงและการส่งต่อออกนอกหน่วยบริการ RW< 0.5 ปีงบประมาณ 2556 ร้อยละ ร้อยละการส่งต่อ RW แต่ละระดับ ปีงบประมาณ 2556 ร้อยละ
ปัญหา และสาเหตุปัญหา ในระบบส่งต่อ จังหวัดราชบุรี
สถานการณ์ ความท้าทาย • ผู้ป่วยฉุกเฉิน ซับซ้อน ที่ประสานส่งต่อยาก • เป้าหมายลดการปฏิเสธรับส่งต่อ รวมทั้งส่งต่อได้ในเวลาที่เหมาะสม • ปัญหาส่งออกนอกเครือข่าย • -กลุ่มผู้ป่วยค่าใช้จ่ายสูง ที่ไม่เกินศักยภาพ • - กลุ่มที่ไม่เกินศักยภาพ ที่ถูกส่งออกนอกเครือข่ายโดยไม่จำเป็น • RW< 0.5 • เป้าหมายลดการส่งต่อออกนอกเครือข่าย ได้อย่างน้อย ร้อยละ 50
ระบบส่งต่อ กระบวนการ ปัญหา เครื่องมือในการบริการรับ/ส่งต่อ 1. มีระบบการเชื่อมโยงฐานข้อมูลการรับ/ส่งต่อผู้ป่วย และ นำข้อมูลมา พัฒนาคุณภาพบริการ 2. พัฒนาศูนย์ประสานรับ/ส่งต่อ ให้เป็นรูปธรรม 3. พัฒนาศักยภาพการบริการในระบบส่งต่อ ให้ได้คุณภาพมาตรฐานการบริการ มาตรการ เป้าหมายในการพัฒนา เป้าหมายผลลัพธ์ ระบบฐานข้อมูลการรับ/ส่งต่อยังไม่สามารถเชื่อมต่อเป็นฐานข้อมูลเดียวกัน และสะท้อนคุณภาพ ศักยภาพ ตามระดับบริการ,(การเข้าถึง,ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน) โครงสร้างงานส่งต่อยังไม่ได้ตามเกณฑ์ ยังไม่มีศูนย์ประสาน /จนท.ประจำศูนย์ ครบทุกแห่ง คุณภาพการบริการยังไม่ได้ตามเกณฑ์CPG • ข้อมูลการรับส่งต่อและข้อมูลทรัพยากร • ศูนย์ประสานรับส่งต่อหน่วยบริการ/จังหวัด/เขต • แนวทางส่งต่อตามCPG แต่ละสาขา • MOU กับ รพ.ในจังหวัด/เขต/ส่วนกลาง • มีการเชื่อมโยงข้อมูล มีฐานข้อมูล refer กลาง • ศูนย์ประสานรับ/ส่งต่อ ทุกแห่ง มีบทบาทหน้าที่ และโครงสร้างที่ชัดเจน • การบริการมีคุณภาพ มาตรฐานตามCPG • มีมาตรฐานกลาง ในการเก็บข้อมูล และนำข้อมูลมา พัฒนาคุณภาพ บริการ • ประสานส่งต่อ ได้รวดเร็ว เหมาะสม และมีคุณภาพ
สรุปแผนงานพัฒนาระบบส่งต่อสรุปแผนงานพัฒนาระบบส่งต่อ มี 3 มาตรการ งบประมาณ
แผนพัฒนาคุณภาพบริการ • ปัญหา • การนำองค์กร/การสื่อสาร การเชื่อมโยงระบบคุณภาพ ส่งต่อสู่ระดับผู้ปฏิบัติ ยังไม่ครอบคลุม • ทีมนำและผู้ปฏิบัติมีความเข้าใจและตระหนักในการพัฒนาระบบคุณภาพไม่เท่ากัน • กลไกสนับสนุน/ การพัฒนาคุณภาพ ในระดับจังหวัด และสถานบริการยังไม่ชัดเจน สถานการณ์ รพ. ผ่าน HA 5แห่ง(50 %) QA:ผ่านสภาการพยาบาล 7 ( 70 %)แห่ง , LAB ผ่านการรับรอง 6 แห่ง ( 60 %) X-ray ระดับดี 6 แห่ง (60 % ) PCA ระดับ 3 จำนวน 26 แห่ง (15.85 % ) • เป้าประสงค์/ผลลัพธ์ที่ต้องการ • HA จำนวน ๗ แห่ง • สถานบริการปฐมภูมิผ่านมาตรฐาน PCA ระดับ 3 ร้อยละ 30 • และผ่านมาตรฐานวิชาชีพ ครอบคลุมทุกแห่ง (เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขสถานบริการเข้าสู่กระบวนการคุณภาพ ครอบคลุมร้อยละ 90 )
ผลการดำเนินงานตามาตรการผลการดำเนินงานตามาตรการ • มาตรการที่ 1 สร้างภาคีเครือข่ายทีมนำคุณภาพระดับเขต/จังหวัดด้วยระบบ พบส. ในระดับจังหวัด/เขต • มาตรการที่ 2 พัฒนาระบบ/กลไกในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่ชัดเจนขององค์กรในหน่วยโรงพยาบาล • มาตรการที่ 3 พัฒนา/กำหนดให้หน่วยบริการมีการประเมินคุณภาพและการปรับปรุง คุณภาพอย่างต่อเนื่อง และพัฒนาระบบวิจัย
โรงพยาบาลคุณภาพ(HA)/มาตรฐานวิชาชีพโรงพยาบาลคุณภาพ(HA)/มาตรฐานวิชาชีพ • 3 มาตรการ • งบประมาณ สรุปแผนพัฒนาคุณภาพบริการ
4 มาตรการ • งบประมาณ สรุปแผนพัฒนาคุณภาพบริการ : PCA
4 มาตรการ • งบประมาณ สรุปแผนพัฒนาคุณภาพบริการ :QOF
3 มาตรการ • งบประมาณ สรุปแผนพัฒนาคุณภาพบริการ :แพทย์แผนไทย
3 มาตรการ • งบประมาณ สรุปแผนพัฒนาคุณภาพบริการ :พัฒนาระบบควบคุม
สถานการณ์ จ.ราชบุรีเคยเกิดอุทกภัย ดินโคลนถล่ม อุบัติเหตุหมู่ สารเคมีรั่วไหล และโรคระบาด FR ไม่ครอบคลุมทุกตำบล (มี FR จาก อปท. 32 แห่งร้อยละ 28.8 ของอปท.ทั้งหมด) ห้อง ER ผ่านการประเมินตนเอง แต่ยังไม่ผ่านการประเมินมาตรฐานจากส่วนกลาง ปี 2556 มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร จำนวน 215 ราย อัตรา 25.46 ต่อแสนประชากร แผนการแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย ประเด็นปัญหา EMS ยังไม่ได้มาตรฐาน FR ไม่ครอบคลุมทุกตำบล ผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรสูงกว่าเกณฑ์ของประเทศ ห้อง ER ยังไม่ได้มาตรฐานและไม่ผ่านการประเมินคุณภาพ จากทีมของกระทรวงสาธารณสุข จ. ราชบุรียังมีโอกาสเกิดภัย ต้องเตรียมความพร้อมด้านสาธารณภัยอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.ประชาชนมีการเข้าถึงบริการ EMS เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะผู้ป่วยวิกฤติสีแดง สีเหลือง ทีมกู้ชีพ ให้การช่วยเหลือ RESPONSE TIME ภายใน 10 นาที ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80 และผู้ป่วยสีแดง ได้รับการช่วยเหลือ RESPONSE TIME ภายใน 8 นาที ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 50 2.หน่วย FR จาก อปท. มีการตั้งหน่วยกู้ชีพเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 5 3.ห้อง ER ของ รพ.ทุกแห่งมีคุณภาพ (ER คุณภาพ ) 4.เมื่อเกิดสาธารณภัยหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับสามารถบริหารจัดการภัยนั้นๆ ได้อย่าง เหมาะสม 5.อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนลดลงอย่างน้อยร้อยละ 5 ของปีที่ผ่านมา
มาตรการจังหวัด มาตรการที่ 1. มาตรการเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดราชบุรี มาตรการที่ 2 มาตรการพัฒนาคุณภาพ ER และEMS สู่เกณฑ์มาตรฐาน 2.1 โครงการพัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉินสู่เกณฑ์มาตรฐาน 2.2 โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินสู่คุณภาพ 2.3 โครงการพัฒนาระบบข้อมูลด้านการบาดเจ็บสู่การแก้ปัญหา มาตรการที่ 3 มาตรการการเตรียมความพร้อมรองรับสาธารณภัย โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี ระยะก่อนเกิดภัยขณะเกิด และหลังเกิดสาธารณภัย
5 มาตรการ • งบประมาณ สรุปแผนงานการแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย
ผลงานรอบ 3 เดือน ด้านสาธารณภัย มีทีมปฏิบัติการ (สะสม)miniMERT 1O ทีม ทีมMCATT 10 ทีม ทีม SRRT คุณภาพ 8 ทีม EMS คุณภาพ การช่วยเหลือผู้ป่วยวิกฤติสีแดงสีเหลือง RESPONSE TIME ภายใน 10 นาทีร้อยละ 86.26 การช่วยเหลือผู้ป่วยวิกฤติสีแดง RESPONSE TIME ภายใน 8 นาที ร้อยละ 59.32 ER คุณภาพ โรงพยาบาล10 แห่งมีการประเมินตนเองและจัดทำแผนพัฒนา สู่มาตรฐาน มีระบบการช่วยเหลือผู้ป่วยสีแดงภายใน 5 นาที และ มีระบบการคัดแยกผู้ป่วยตามเกณฑ์มาตรฐาน ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
แผนยาเสพติด 2.การติดตามผู้ผ่านการบำบัดระบบสมัครใจ แบบผู้ป่วยนอก ปี2556 1.สถานการณ์การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติด • บำบัดรักษา แบบผู้ป่วยนอก 330 คน • ติดตามได้ 290 คน (87.88%) • พบไม่กลับมาเสพซ้ำ 85.17% 3.คุณภาพข้อมูลยาเสพติด(บสต.) คุณภาพข้อมูล บสต.3-5 ปี2554-2556 จำนวน 15,347 รายการ มีคุณภาพ 12,207 รายการ คิดเป็น 78.93% (เกณฑ์ 90%) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายหน่วยงานพบดังนี้ - สาธารณสุข 95.98% - สถานพินิจ 97.75% - เรือนจำ 56.19% - คุมประพฤติ 69.89% การบำบัดรักษาผู้ใช้สารเสพติด จังหวัดราชบุรี ปี 2554-2556 พบว่ามี ผู้เข้ารับการบำบัด รักษาเพิ่มขึ้น โดยส่วนใหญ่เป็นระบบบังคับบำบัด และค่ายบำบัด ส่วนการบำบัดในระบบสมัครใจยังคงมีจำนวนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับระบบอื่น แต่เมื่อเปรียบเทียบกับสองปีที่ผ่านมามีแนวโน้มผู้บำบัด รักษาแบบสมัครใจเพิ่มขึ้น
สรุปประเด็นปัญหา 1. ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ไม่สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในระบบสมัครใจอย่างแท้จริง 2.การติดตามผลการบำบัด รักษาครบตามเกณฑ์ 4 หรือ 7 ครั้งใน 1 ปี ไม่ครอบคลุม 3.ระบบข้อมูลในระบบ บสต.มีคุณภาพต่ำกว่าเกณฑ์ (เกณฑ์90%) ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.ผู้ป่วยยาเสพติดในระบบสมัครใจได้รับการบำบัดครบตามเกณฑ์ร้อยละ 80 2.ผู้ป่วยยาเสพติดในระบบสมัครใจที่บำบัดครบตามเกณฑ์ได้รับการติดตามหลังการบำบัดอย่างน้อย 4 หรือ 7 ครั้งใน 1 ปีร้อยละ 80 3. ผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตามไม่กลับไปเสพซ้ำ ร้อยละ 80 4.ข้อมูลรายงาน บสต. มีคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
มาตรการจังหวัดราชบุรีมาตรการจังหวัดราชบุรี มาตรการ1. พัฒนาให้สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งมี ความพร้อมในการบำบัดรักษา และติดตามผู้ป่วย ยาเสพติด มาตรการ 2. พัฒนาระบบข้อมูลงานยาเสพติดคุณภาพ มี 2มาตรการ 3 โครงการ ผลการดำเนินงานปี2557 1.ประชุมชี้แจงนโยบาย และแนวทางการดำเนินงานแก่ผู้รับผิดชอบงาน ยาเสพติดของหน่วยบริการระดับอำเภอและโรงพยาบาล จำนวน 1 ครั้ง 2.ผลการให้บริการบำบัดรักษา ผู้ป่วยยาเสพติด ของหน่วยบริการสาธารณสุข ช่วงเดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2556 ดังนี้ - ระบบสมัครใจแบบผู้ป่วยนอก จำนวน 9 คน - ระบบบังคับบำบัด จำนวน 139 คน
สรุปแผนงานการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดสรุปแผนงานการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด มี 2 มาตรการ งบประมาณ
แผนโครงการพระราชดำริ มาตรการระดับจังหวัด เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ เพื่อให้สำเร็จหรือบรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายของโครงการ
ผลการดำเนินงานโครงการพระราชดำริ ปีงบประมาณ 2557 รอบ 3 เดือน (ตุลาคม – ธันวาคม 2556)
ผลการดำเนินงานโครงการพระราชดำริ ปีงบประมาณ 2557 รอบ 3 เดือน (ตุลาคม – ธันวาคม 2556)
มาตรการจังหวัด จำนวน 1 มาตรการ • มาตรการอำเภอและมาตรการรายโครงการ จำนวน 10 มาตรการ • โครงการ จำนวน 26 โครงการ สรุปแผนงานโครงการพระราชดำริ • งบประมาณ