1 / 25

การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑

การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑. ธัญญา เรืองแก้ว กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. เปรียบเทียบการวัดและประเมินผล. หลักสูตรฯ 51. หลักสูตรฯ 44. การวัดและ ประเมินผล.

quant
Download Presentation

การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑ ธัญญา เรืองแก้ว กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

  2. เปรียบเทียบการวัดและประเมินผลเปรียบเทียบการวัดและประเมินผล หลักสูตรฯ 51 หลักสูตรฯ 44 การวัดและ ประเมินผล ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง เกณฑ์ การจบ สพฐ.กำหนดเกณฑ์แกนกลาง เป็นข้อกำหนดอย่างน้อย สถานศึกษา กำหนด

  3. หลักสูตรฯ 51 เกิดผลดีกับผู้เรียนอย่างไร? แก้ไขพัฒนาผู้เรียนได้ ตาม ศักยภาพ การตรวจสอบคุณภาพ มีความ ชัดเจน ลดภาระงาน เรื่องเอกสารรายงานผล สะดวกในการเทียบโอน ระหว่างสถานศึกษา

  4. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ หลักการพื้นฐานของ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน

  5. หลักการวัดและประเมินผล 1. เป้าหมายหลัก :เพื่อการพัฒนาผู้เรียน 2. ใช้เครื่องมือและวิธีที่หลากหลายเพื่อวัดพัฒนาการด้านความรู้ ความสามารถ และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานหลักสูตรได้อย่างน่าเชื่อถือและเป็นธรรม 3. ให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถที่ได้จากการเรียนรู้ โดยการกระทำหรือปฏิบัติจริงอย่างครบขั้นตอน และใช้กระบวนการทำงานและเกณฑ์การประเมินที่ใกล้เคียงกับมาตรฐานในสภาพจริง 4. กิจกรรมการประเมินเป็นประสบการณ์ที่มีคุณค่าและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวน การเรียนการสอนที่ดำเนินควบคู่กันอย่างต่อเนื่อง 5. มีการจัดเก็บข้อมูลการประเมินอย่างเป็นระบบเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาผู้เรียน การตัดสินผลการเรียน การศึกษาต่อ และการรายงานประจำปีในระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา

  6. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร ? เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) ระดับชั้นเรียน ระดับ การประเมิน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ

  7. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) พัฒนาผู้เรียนเต็มศักยภาพ ภาระความรับผิดชอบ ในการพัฒนาผู้เรียน บนพื้นฐาน ของข้อมูลการประเมิน ตอบสนองตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ทันท่วงที

  8. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน การเลื่อนชั้นและการซ้ำชั้น เกณฑ์การวัด และ ประเมินผลการเรียน เกณฑ์การจบการศึกษา

  9. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) ระเบียนแสดงผลการเรียน ปพ.1 เอกสาร หลักฐานการศึกษา ประกาศนียบัตร ปพ.2 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา ปพ.3

  10. หลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไรหลักสูตรแกนกลางกำหนดอะไร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน (ต่อ) การเทียบโอนผลการเรียน การจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา

  11. การตัดสินผลการเรียน อ่านคิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลาเรียน 80%    ตัวชี้วัด ทุกรายวิชา ได้รับการตัดสิน 

  12. การให้ระดับผลการเรียน การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระดับการประเมิน ดีเยี่ยม ผ่าน ดี ไม่ผ่าน

  13. การให้ระดับผลการเรียน ผลการประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ระดับการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน

  14. การรายงานผลการเรียน ต้องสรุปผลการเรียนรายงานให้ผู้ปกครองทราบความก้าวหน้า • เป็นระยะ ๆ หรือ • ภาคเรียนละ 1 ครั้งเป็นอย่างน้อย

  15. เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษาเกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา • เรียนตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด • ผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

  16. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11หน่วยกิต • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

  17. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย • เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด • ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36หน่วยกิต • ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการประเมินเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • ผลการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

  18. เอกสารหลักฐานการศึกษาเอกสารหลักฐานการศึกษา • เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด • ระเบียนแสดงผลการเรียน • ประกาศนียบัตร • แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา • เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด

  19. การเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนผลการเรียน • ดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก • ผู้เรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน • การเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา/จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม • การพิจารณาการเทียบโอน ให้ดำเนินการ ดังนี้ • พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ • พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ • พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง

  20. การนำสู่การปฏิบัติ • จัดทำนโยบาย รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สถานศึกษา • กำหนดเกณฑ์การประเมิน การผ่านตัวชี้วัด • จัดทำแนวปฏิบัติและเกณฑ์การประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • กำหนดกระบวนการตัดสินผลการเรียน • กำหนดแนวปฏิบัติการอนุมัติการเลื่อนชั้น การเลื่อนชั้นระหว่างปี การซ้ำชั้น ฯลฯ • กำหนดภารกิจครูผู้สอน • จัดทำคู่มือครู คู่มือนักเรียน • ฯลฯ

More Related