1 / 62

ดร. สมนึก คีรีโต

บทเรียนจาก 30 ประเทศทั่วโลก เพื่อการขับเคลื่อนการพัฒนา ระบบเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย Thailand e-Government Interoperability Framework. ดร. สมนึก คีรีโต

Download Presentation

ดร. สมนึก คีรีโต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทเรียนจาก 30 ประเทศทั่วโลกเพื่อการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยThailand e-Government Interoperability Framework ดร. สมนึก คีรีโต Certified TOGAF-8 Architectผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศผู้ช่วยศาสตรจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการพัฒนากรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติปี 2555โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วันที่ 12 กันยายน 2555 v2.0

  2. หัวข้อที่นำเสนอ • “กรอบนโยบายเพื่อส่งเสริม” การพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่มีการแลกเปลี่ยนทั้งข้อมูล และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน (e-GIF: e-Government Interoperability Framework) • “บทเรียนจาก 30 ประเทศทั่วโลก” กับการพัฒนา ระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย เวอร์ชั่น 2.0” (TH e-GIF)

  3. หน่วยงานเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ เช่น UNDP, WorldBank ต่างส่งเสริมให้ทุกประเทศได้พัฒนากรอบแนวทาง e-Gov Interoperability ประเทศต่างๆ ทั่วโลกมากกว่า 30 ประเทศ ได้มีการกำหนด “กรอบแนวทาง National e-GIF” เพื่อการผลักดันการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมโยงกัน บทความชื่อ “e-Government Interoperability: a comparative studies of 30 countries”โดยหน่วยงาน CSTransform ได้นำเสนอการเปรียบเทียบ National eGIF ของ 30 ประเทศทั้งในด้านเนื้อหา ข้อดี ข้อจำกัด และการประยุกต์ใช้ เป็นต้น

  4. e-Government Interoperability คือ อะไร • การที่หน่วยงาน(ภาครัฐ)มากกว่า ๑ หน่วยงานสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กันได้อย่างอัตโนมัติ [UNDP 2007] • การที่หน่วยงานหลายหน่วยงานสามารถดำเนินกระบวนการทำงานให้สอดประสานกันได้โดยมีข้อมูลและธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ [European Commission 2004]

  5. ความสำคัญ และประโยชน์ของการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ การยกระดับความสามารถในการปรับปรุงคุณภาพ “การบริการ” ให้แก่ประชาชน และ รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยการประสานการทำงานภายในของภาครัฐเองด้วย(...เพิ่มธรรมาภิบาลและความโปร่งใส ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ประชาชนเข้าถึงบริการได้สะดวกขึ้น ได้รับบริการแบบเบ็ดเสร็จ รวดเร็ว มีคุณภาพมากขึ้น.....)

  6. กรอบแนวทางการขับเคลื่อน [e-Gov Interoperability Framework] • แนวทาง ที่จะใช้ขับเคลื่อนให้เกิด “การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง” ภาครัฐไปสู่เป้าหมายของการบูรณาการบริการ และประสานงานระหว่างหน่วยงานภายในของรัฐให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพ

  7. องค์ประกอบวิกฤต เพื่อการพัฒนาระบบเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ให้ประสบความสำเร็จ • การขับเคลื่อนด้านนโยบาย และการสนับสนุนทรัพยาการ (Political Will) • การขับเคลื่อนด้านความร่วมมือ และการเปลี่ยนแปลงเชิงสังคมและการสร้างความคุ้นเคย (Inter-agency Collaboration & Social/Cultural Change) • การปรับปรุงระเบียบปฎิบัติ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้อง (Legal Power) • การวิเคราะห์เสนอ และเห็นชอบร่วมกันในกระบวนการทำงานในขั้นตอนแบบใหม่ (Process Agreement) • การวิเคราะห์เสนอ และเห็นชอบร่วมกันความหมายของรายการข้อมูลที่จะแลกเปลี่ยนกัน (Meaning Exchange Agreement) • การพัฒนาระบบด้านเทคนิคไอซีที เพื่อรองรับข้อตกลงข้างต้น (Technical Development) “Interoperability in the e-Government Context,” Marc Novakouski, Grace A. Lewis, SEI/CMU, January 2012

  8. องค์ประกอบวิกฤต ที่จะทำให้การพัฒนาระบบe-Government Interoperability ประสบความสำเร็จ “Interoperability in the e-Government Context,” Marc Novakouski, Grace A. Lewis, SEI/CMU, January 2012

  9. หัวข้อที่นำเสนอ • “กรอบนโยบายเพื่อส่งเสริม” การพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่มีการแลกเปลี่ยนทั้งข้อมูล และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน (e-GIF: e-Government Interoperability Framework) • “บทเรียนจาก 30 ประเทศทั่วโลก” กับการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย เวอร์ชั่น 2.0” (TH e-GIF)

  10. บทเรียนจาก 30 ประเทศทั่วโลกในการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ e-Government Interoperability: Analysis of 30 countries • ข้อผิดพลาด 3 ด้าน ที่พบบ่อยๆ ใน e-Gov ของหลายประเทศ • การบริหารโครงการพัฒนา e-Govที่ควรปฎิบัติ 5 ขั้นตอนหลัก

  11. ข้อผิดพลาด 3 ด้าน ที่พบบ่อยในการพัฒนาระบบ e-Gov • มุ่งเน้นการดำเนินงานด้านเทคนิคมากเกินไป (Over-Engineering) ทำให้ขาดความใส่ใจในประเด็นอื่นที่สำคัญมากกว่า เช่น การผลักดันเชิงนโยบาย การสร้างกลไกความร่วมมือ การหาแนวไปสู่การเห็นชอบร่วมกับใน “ขั้นตอนการทำงานแบบใหม่” ที่ดีกว่าเดิม ก่อนการลงมือลงทุนด้านไอที เป็นต้น • ไม่ได้สนใจในการปรับโครงสร้างกลไกองค์กร ให้เหมาะสม(Lack of focus ongovernment-wide business transform) • ขาดการผลักดันกรอบนโยบาย ให้ไปสู่ภาคปฏิบัติอย่างเหมาะสม (Inadequate implementation) กล่าวคือ ขาดความต่อเนื่องด้านนโยบาย ขาดงบประมาณ และขาดการบริหารโครงการที่มีประสิทธิผล เพื่อผลักดันกรอบแนวทาง e-GIF ไปสู่การสร้าง และใช้งานระบบจริง

  12. การบริหารจัดการโครงการพัฒนาระบบ e-Gov ให้ประสบความสำเร็จ:5 ขั้นตอน/ระยะ (1/3) ระยะที่ ๑ - ระยะการศึกษาความเป็นไปได้ และกำหนดทิศทางในเบื้องต้น (Inception Phase - for Initial Concept Direction) • การดำเนินการในระยะนี้เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ กำหนดแนวทางทิศทาง และเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในขอบเขตความต้องการที่เหมาะสมและที่มีความเป็นไปได้ในเบื้องต้น ระยะที่ ๒ - ระยะการศึกษาวิเคราะห์ กำหนดรายละเอียดความต้องการ และออกแบบรูปแบบสถาปัตยกรรมระบบที่มีความเป็นไปได้ในระดับลึก (Elaboration Phase- Detailed Blueprint Design) • เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ ออกแบบ และเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในขอบเขตความต้องการในรายละเอียด ทั้งในด้าน "กระบวนการใหม่" (To-be Business Process) "รูปแบบของเอกสารและข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบใหม่" "ความเป็นไปได้ในการใช้ระบบสารสนเทศและการแลกเปลี่ยนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งความเป็นไปได้ในเชิงกฎหมาย กฎระเบียบ การปฎิบัติงานแบบใหม่ มาตรฐานและองค์ประกอบทางเทคโนโลยีที่จะใช้" และ "การออกแบบสถาปัตยกรรมระบบไอทีรวมทั้งคุณลักษณะและฟังก์ชั่นการใช้งานหลักของระบบย่อยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (Application Architecture)"

  13. การบริหารจัดการโครงการพัฒนาระบบ e-Gov ให้ประสบความสำเร็จ:5 ขั้นตอน/ระยะ (2/3) ระยะที่ ๓ - ระยะการจัดทำข้อกำหนดความต้องการด้านเทคนิคในรายละเอียด แผนงานและงบประมาณด้านการพัฒนาระบบฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ (Planning Phase - for Detailed Construction) • หลังจากที่มีการออกแบบและเห็นชอบร่วมกันในกระบวนการใหม่ ตลอดไปจนถึงการออกแบบสถาปัตยกรรมระบบที่ต้องการอย่างชัดเจนในระยะที่ ๒ แล้ว เราจึงจะมีข้อมูลเพียงพอในการลงรายละเอียดของข้อกำหนดความต้องการด้านเทคนิค ทั้งขนาด ความสามารถด้านประสิทธิภาพ จำนวนของฮาร์ดแวร์และข้อกำหนดซอฟต์แวร์ของโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ในรายละเอียด เพื่อพร้อมที่จะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตั้ง และการก่อสร้างพัฒนาระบบใหม่ในลำดับต่อไป ระยะที่ ๔ - ระยะการพัฒนาและติดตั้งระบบไอที (Construction Phase - for IT Implementation) • ขั้นตอนการลงรายละเอียดการออกแบบ การพัฒนา และติดตั้งระบบในเชิงเทคนิคทั้งด้านฮาร์ดแวร์ เครือข่าย ซอฟต์แวร์พื้นฐาน และระบบซอฟต์แวร์ประยุกต์

  14. การบริหารจัดการโครงการพัฒนาระบบ e-Gov ให้ประสบความสำเร็จ:5 ขั้นตอน/ระยะ (3/3) ระยะที่ ๕ - ระยะการประยุกต์ใช้ระบบใหม่ และ การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Adoption Phase–for Human Change Management) • นอกเหนือจากการออกแบบ พัฒนาและติดตั้งระบบที่รองรับกระบวนการใหม่ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศตามที่ดำเนินการในระยะที่ ๔ แล้ว ความสำเร็จของโครงการในภาพรวมยังจะไม่บรรลุผลจนกว่าจะมีกลไกการขับเคลื่อนที่สำคัญที่สุดประการต่อไป ก็คือ การขับเคลื่อนเชิงองคาพยพที่จะทำให้ทั้งผู้ใช้และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนปรับเปลี่ยนเข้าสู่สภาวะแวดล้อมใหม่ กระบวนการและระบบใหม่นี้มักจะเริ่มจากผู้ใช้ที่ทดลองใช้งานระบบในช่วงแรกจำนวนไม่มาก ไปสู่การขับเคลื่อนให้เกิดการยอมรับ การจัดฝึกอบรม และการส่งเสริมการใช้งานจริงโดยผู้ใช้ที่มีจำนวนมากขึ้นในลำดับต่อมา การดำเนินการขับเคลื่อนในระยะนี้มักจะรวมถึงการปรับแก้ระเบียบ หรือออกประกาศเพื่อกำหนดกฎระเบียบปฏิบัติใหม่ให้รองรับและสอดคล้องกับระบบใหม่ รวมทั้งมักจะมีการตัดสินใจในเชิงนโยบายและ กำหนดแนวทางปฏิบัติในรายละเอียดอีกหลายด้านควบคู่กันไปด้วย เป็นต้น

  15. หัวข้อที่นำเสนอ • “กรอบนโยบายเพื่อส่งเสริม” การพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ที่มีการแลกเปลี่ยนทั้งข้อมูล และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน (e-GIF: e-Government Interoperability Framework) • “บทเรียนจาก 30 ประเทศทั่วโลก” กับการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • “กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย เวอร์ชั่น 2.0” (TH e-GIF)

  16. กรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติThailand e-Government Interoperability FrameworkTH e-GIF v2.0 TH e-GIF คือ อะไร มีองค์ประกอบ และ ประโยชน์อย่างไร

  17. แนวทางส่งเสริมการพัฒนาระบบเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ระดับที่ 3 – จัดสรรงบประมาณเพื่อช่วยพัฒนาระบบเชื่อมโยงใน โดเมนที่คัดเลือก เช่น ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์, ระบบ NSW, ระบบภัยพิบัติฯ ฯลฯ สนับสนุนงบเพื่อการพัฒนาระบบจริง นำองค์ความรู้ TH e-GIFไปพัฒนามาตรฐานจริง ระดับที่ 2 – ร่วมจัดทำ และส่งเสริมการใช้“มาตรฐานรายการข้อมูล” และ “มาตรฐานด้านกระบวนการ”….สำหรับ“การประยุกต์ใช้จริงในสาขาต่างๆ”เช่น ด้านเกษตร, สาธารณสุข,โลจิสติกส์, สถิติ, ... ผลักดันนโยบาย และ ให้องค์ความรู้ ระดับที่ 1 – การผลักดันเชิงนโยบาย จัดทำกรอบมาตรฐานและคู่มือ การทำมาตรฐานในระดับประเทศ, ส่งเสริมการใช้มาตรฐานทางเทคนิค, จัดทำและแนะนำการใช้คู่มือการจัดทำมาตรฐานรายการข้อมูลและกระบวนการ ช่วยจัดทำแผนงาน, จัดสัมมนาให้ความรู้ และ การจัดฝึกอบรม

  18. กรอบแนวทางและมาตรฐาน TH e-GIFมีเนื้อหาหลัก 5 ด้าน • ข้อเสนอเชิงนโยบาย*ในการผลักดันการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ขั้นก้าวหน้า แบบที่มี “การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลและบริการอัตโนมัติข้ามหน่วยงาน” (มุ่งสู่ “บริการร่วม” ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ) • วิธีการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้ามหน่วยงานโดยการใช้หลักการของ “สถาปัตยกรรมองค์กร” • วิธีการวิเคราะห์และกำหนดมาตรฐานกระบวนการ • วิธีการจัดทำมาตรฐานรายการข้อมูล • ข้อกำหนดด้านมาตรฐานทางเทคนิคเพื่อการเชื่อมโยงระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ใน 7 หมวด 132 มาตรฐาน *เพื่อการผลักดันให้เป็น มติของ คณะกรรมการไอซีทีแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และ ให้เป็นนโยบาย และ KPI ของหน่วยงาน และ เพื่อการจัดสรร “ทรัพยากร” (งบประมาณ และกำลังคน) ในการขับเคลื่อนการพัฒนาต่อไป

  19. มาตรฐานกลางระดับประเทศมาตรฐานกลางระดับประเทศ ผลงานของ TH e-GIFปี 2549 - 2554 กรอบแนวทาง และ มาตรฐาน TH e-GIF 1. กรอบนโยบายการพัฒนาระบบเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 2. วิธีการพัฒนาระบบเชื่อมโยงด้วยหลักการสถาปัตยกรรมองค์กร 3. วิธีการวิเคราะห์กระบวนการ 4. วิธีการทำมาตรฐานรายการข้อมูล และ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 5. มาตรฐานที่เป็นข้อกำหนดทางเทคนิคที่แนะนำให้ใช้132 มาตรฐาน ใน 7 หมวด คือ Interconnection Specification, Data Exchange Spec, Storage & Presentation Spec, Web Tech Spec, Business Service Spec, Security Spec, Other Spec ข้อมูลสถิติ ของประเทศ StatXML การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยฯ มาตรฐานข้อมูล พัฒนา ชั้นตอนการช่วยเหลือ และพัฒนา ระบบจริงเชื่อมโยง 6 หน่วยงาน สำนักงาน สถิติแห่งชาติ จัดทำ มาตรฐาน รายงานสถิติ ของประเทศ ข้อมูลเกษตรย้อนกลับ มาตรฐานข้อมูล เพื่อการตรวจสอบ ย้อนกลับ มาตรฐานกลางรายสาขา สาธาณสุขและ โรงพยาบาล National Single Windowโลจิสติกส์ส่งออก-นำเข้าสินค้า ความปลอดภัยในการขนส่งมวลชนสาธารณะ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลงานวิจัย ทะเบียนการศึกษา 1. สถาปัตยกรรมระบบ NSW ของประเทศโดย ก.ไอซีที 2. การใช้มาตรฐาน ebXML Messaging Services (THeGIF) 3. Data Harmonization จาก 189 แบบฟอร์ม 21 หน่วยราชการ 6,765 รายการข้อมูล ลดรูปเหลือ 259 รายการข้อมูล มาตรฐานข้อมูล นักเรียน 46 รายการ ครู 33 รายการ สถานศึกษา 41 รายการ โดยใช้แนวทาง ของ TH e-GIF 1. มาตรฐานรายการข้อมูล 19 รายการ 2. มาตรฐานกระบวนการรับส่ง หนังสือราชการ 3. มาตรฐานกระบวนการ Time Stamp 4. มาตรฐานการลงลายมือชื่อ มาตรฐาน 65 รายการข้อมูล เพื่อสืบค้น ผลงานวิจัย โดยใช้แนวทาง ของ TH e-GIF มาตรฐาน 35 แฟ้ม ข้อมูล เพื่อส่งตัว ผู้ป่วย ระหว่าง โรงพยาบาล 1. มาตรฐานรายการข้อมูล คนประจำรถประจำทางสาธารณะ 2. มาตรฐานรายการข้อมูล รถประจำทางสาธารณะ 3. มาตรฐานกระบวนการรับส่งข้อมูล ระหว่างหน่วยงานขนส่ง การพัฒนาระบบงานจริง ก.ไอซีที จัดสรรงบประมาณ ในการพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง4 หน่วยงาน คือ สำนักงานปลัด ก.คมนาคม กรมการขนส่งทางบก บขส และ ขสมก (มีข้อมูลผู้ประจำรถ 40,000 คน และ ข้อมูลรถประจำทาง 40,000 คัน) ก.ไอซีที สนับสนุนงบฯ พัฒนาการเชื่อมโยงระหว่าง ระบบสารบรรณของ 70 หน่วยราชการ แต่ยังไม่ได้มีการใช้ Digital Signature ของผู้ลงนามในหนังสือ อย่างเต็มรูป 35 หน่วยงานราชการ กำลังพัฒนาระบบไอทีภายใน และ เชื่อมโยงระบบข้ามหน่วยงาน(ebXMLprotocol)กับ NSW, กรมศุลกากร และ ASEAN Single Window - ก.ไอซีที สนับสนุนงบประมาณ 186 ล้านบาท แก่ 15 หน่วยงาน ในการพัฒนาระบบเชื่อมโยง ดังกล่าว สภาวิจัยฯ เป็น เจ้าภาพพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลผลงานวิจัยร่วมกับ 37 หน่วยงาน(สถาบีนวิจับ และมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ 60 ฐานข้อมูล)www.vijai.net ก.ศึกษาฯ เป็นเจ้าภาพ พัฒนาระบบ เชื่อมโยงกับ 38,000 สถานศึกษา (ของ 7 กระทรวง 28 หน่วยงาน) ใช้งานจริง ใน 200 โรงพยาบาล ก.สาธารณสุข กำลังประสานความร่วมมือการพัฒนาในขั้นต่อไป รวบรวมข้อมูลโดย ดร. สมนึก คีรีโต ผอ. สถาบันนวัตกรรมไอที มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  20. ผลงาน และโครงการที่ประยุกต์ใช้ TH e-GIF • โครงการ National Single Window เพื่อการเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในขั้นตอนการส่งออก และนำเข้าสินค้า เชื่อมโยงระบบเอกสารใบรับรอง-ใบอนุญาตเพื่อการนำเข้าส่งออกแบบไร้กระดาษระหว่าง 35 หน่วยงาน • โครงการเชื่อมโยงฐานข้อมูลผลงานวิจัย ของสถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัย – เชื่อมโยง 37 หน่วยงาน 60 ฐานข้อมูล vijai.net • โครงการยกระดับความปลอดภัยการบริการขนส่งมวลชนสาธารณะ- เชื่อมโยงระหว่าง กรมการขนส่งทางบก บขส. และ ขสมก. • โครงการจัดทำมาตรฐานเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลประกันสังคมและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล • โครงการแลกเปลี่ยนข้อมูลนักเรียนระหว่างสถาบันการศึกษา • โครงการแลกเปลี่ยนเอกสารสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ • โครงการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย………. ฯลฯ

  21. ข้อเสนอเชิงนโยบายของ TH e-GIF • สนับสนุนและผลักดันให้หน่วยงานภาครัฐพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถแลกเปลี่ยนเอกสาร และ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงานแม้ว่าจะมีระบบสารสนเทศที่แตกต่างกัน • กำหนดมาตรฐานร่วมในกระบวนการทำงานระหว่างองค์กร • กำหนดมาตรฐานข้อมูลที่มีความสอดคล้องทั้งชื่อรายการข้อมูล และ โครงสร้างเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ • กำหนดให้ใช้ “มาตรฐานเปิด” เป็นโปรโตคอลในการสื่อสารเรียกใข้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสระหว่างระบบที่มึความแตกต่างกัน

  22. 1 2 4 3 ความก้าวหน้า 4 ระดับของระบบ e-Government“TH e-GIF ส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐพัฒนาไปสู่ e-Government Advanced Level ระดับที่ 3 & 4” ทำให้ประชาชน หรือ ภาคเอกชนได้รับบริการแบบเบ็ดเสร็จมากขึ้น ระบบบริการร่วม หรือ One stop service เว็บ เซอร์วิส หน่วยงาน ก เว็บ เซอร์วิส หน่วยงาน ข เว็บ เซอร์วิส หน่วยงาน ค เว็บ เซอร์วิส หน่วยงาน ง เว็บ เซอร์วิส เว็บ เซอร์วิส แลกเปลี่ยนข้อมูล และธุรกรรม ระหว่างระบบกับระบบอย่างอัตโนมัติ เว็ป แอพริเคชั่น เว็ป แอพริเคชั่น ประชาชนใช้บริการธุรกรรมผ่านเว็ปอินเทอร์เน็ต ระบบไอซีที ใช้ภายใน หน่วยงาน ง เท่านั้น ระบบไอซีที ใช้ภายใน หน่วยงาน ก เท่านั้น ประชาชนเดินทางมาขอบริการ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

  23. วิธีการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงาน Collaborative e-Government โดยใช้หลักการของ “สถาปัตยกรรมองค์กร”(EA - Enterprise Architecture) เส้นทางการขับเคลื่อนจากยุทธศาสตร์ (ทิศทาง และ ความต้องการทางธุรกิจ) สู่ความเป็นจริง

  24. หลักการพื้นฐาน ของ “สถาปัตยกรรม” • การใช้ “ภาพ” ช่วยอธิบายสถานะของ ”ปัจจุบัน” และ นำเสนอ “อนาคต” ที่เราต้องการ • “ภาพ” ที่อธิบายความสลับซับซ้อนของระบบ โดยการแยกความสบลับซับซ้อนนั้นเป็น • องค์ประกอบย่อย (หลาย components ย่อย) • มีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย (เช่น ใช้ “เส้น” แสดง relationships) • มีการกำหนด “กลไกการกำกับ” สำหรับแต่ละส่วนย่อย เช่น กำหนดว่า “ชื่อหน่วยงาน” ที่เป็นเจ้าภาพกำกับดูแลในแต่ละส่วนย่อย • มักใช้ภาพหลายภาพ แสดงใน “หลายมุมมอง”

  25. กลไกกำกับดูแล กำหนดราคา และ การประกันบริการระบบ NSW ของประเทศ 2 หน่วยงานออกใบรับรอง และใบอนุญาตต่างๆ (ราชการ-องค์กรกำกับ 35 หน่วยงาน) 3 ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการค้า และการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศ กรมศุลกากร ebMS National Single Window (NSW) กรมศุลกากร เป็นเจ้าภาพ 1 กรมการค้า ตปท ebMS กรมประมง ebMS กรมควบคุมโรค ebMS การท่าเรือแห่ง ประเทศไทย ebMS ท่าเรือ ท่าอากาศยาน ebMS โครงสร้างพื้นฐานระบบสารสนเทศมาตรฐาน และกฎหมายที่รองรับ หน่วยงานกำกับอื่นๆ 4 ตัวอย่าง สถาปัตยกรรมระบบ (High-level Architecture) ที่แสดงองค์ประกอบระบบ National Single Window ในระดับนโยบาย G, G2G ผู้ให้บริการเสริม ด้านซอฟต์แวร์ และ โลจิสติกส์ ภาคธุรกิจการค้า และการขนส่ง 7 6 5 ผู้นำเข้า-ผู้ส่งออก VAS ผู้ให้บริการ Gateway VAS ตัวแทนรับจัดการขนส่ง Trade Siam VAS ตัวแทนออกของ CAT Data & Proceee Harmonization Data & Process Harmonization VAS สายเรือ สายการบิน หรือ ตัวแทน NetBay Value-Added Services เพื่อจัดทำ ซอฟต์แวร์สนับสนุนSingle Window Entry และ การจัด ลำดับการนำเข้า และ ส่งออกสินค้า(Business Process Management) ผู้ให้บริการโลจิสติกต์ด้านต่างๆ ธนาคาร และ ประกันภัย ภาคธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ebMS = ebXML Messaging Services ผลการศึกษาโดย MICT (2008)ดร. สมนึก คีรีโต, KU-Inova

  26. หลักการพื้นฐาน ของ “สถาปัตยกรรมองค์กร” นำเสนอภาพในอย่างน้อย 5 โดเมน • ด้านยุทธศาสตร์ (Architecture Vision) • ด้านธุรกิจและธุรกรรม (Business Architecture) • ด้านข้อมูล และ เอกสาร (Data Architecture) • ด้านแอพลิเคชั่น-ฟังก์ชั่นการใช้ (Application Architecture) • ด้านเทคโนโลยี-ฮาร์ดแวร์และเน็ตเวิร์ค(Technology Architecture)

  27. การขับเคลื่อนในเชิงนโยบายโดยยุทธวิธีต่างๆ นั้นเป็นองค์ประกอบของความสำเร็จที่สำคัญมาก โครงการที่ปรึกษา พัฒนากรอบแนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (Thailande-Government Interoperability Framework) ระยะที่ 5 กับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส่งมอบงานและสิ้นสุดโครงการแล้วตามสัญญาเมื่อ วันที่ 16 กันยายน 2554 โครงการฯ นี้นำไปสู่การลงนาม MOU - “การพัฒนาระบบเชื่อมโยงภาครัฐเพื่อการบริหารจัดการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ” 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ระหว่าง 8 หน่วยงาน (ก.ไอซีที ก.เกษตรฯ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง กรมส่งเสริมสหกรณ์ ธกส. และ ม.เกษตรศาสตร์)

  28. ตัวอย่างความร่วมมือในการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ เพื่อการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยAgriculture Disaster Relief Information System (Aggie DRIS)กรมประมงกรมปศุสัตว์กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมส่งเสริมการเกษตรสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง สำนักงานปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

  29. ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐเพื่อการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐเพื่อการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขอบเขตของระบบที่พัฒนา • ระบบการประเมินความเสียหายเบื้องต้น ทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง และ ที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์เกษตรหรือกลุ่มเกษตรกร • ระบบตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลแสดงเจตจำนงค์การขอความช่วยเหลือจากเกษตรกรผู้ประสบภัย (กษ. 01) ว่าเลขบัตรประชาชน 13 หลักถูกต้องหรือไม่ และเป็นผู้มีชื่ออยู่ในทะเบียนเกษตรกรหรือไม่ (ทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ และ ประมง) โดยการเชื่อมโยงฐานข้อมูลจาก 3 กรมอย่างอัตโนมัติ (ออนไลน์ และ เรียลไทม์)ทั้ง กรมส่งเสริมการเกษตร กรมประมง และกรมปศุสัตว์ • ระบบจัดทำเอกสาร กษ. 02 (ทั้งด้านพืช ปศุสัตว์ ประมง) และ แบบรายงานด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อการทำประชาคม • ระบบนำเสนอข้อมูลเพื่อการพิจารณาอนุมัติโดย ก.ช.ภ.อ. ก.ช.ภ.จ. หรือ คณะรัฐมนตรี (ตามขั้นตอนของระเบียบการช่วยเหลือฯ) • ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับ ธกส. เพื่อการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ทางบัญชีเงินฝากของเกษตรกร ที่ ธกส. • ระบบรายงานข้อมูล และการติดตามสถานการณ์การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยฯ ในรายบุคคล และในภาพรวมประเทศแบบทันที (ซึ่งเดิมทำได้ยาก)

  30. ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐเพื่อการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐเพื่อการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย จุดเด่นของระบบฯ • การเชื่อมโยงฐานข้อมูล “ทะเบียนเกษตรกร” ของ 3 กรม*คือ กรมส่งเสริมการเกษตร (เกษตรกรพืช) กรมประมง (เกษตรกรประมง) กรมปศุสัตว์ (เกษตรกรปศุสัตว์) ซึ่งเป็นระบบที่แยกและแตกต่างกัน ให้สามารถแลกเปลี่ยนและสืบค้นข้อมูลเข้าหากันได้อย่างอัตโนมัติ (ซึ่งไม่เคยทำได้มาก่อน) • เช่น สามารถค้นหาข้อมูลและตรวจสอบว่าเกษตรกรแต่ละรายมีชื่อขึ้นทะเบียนในทั้ง 3 ฐานข้อมูลได้พร้อมๆ กันทั้งการค้นหาคำแบบพ้องรูป พ้องเสียง เป็นต้น • การบูรณาการ “ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย” ทำให้ทราบรายงานสถานการณ์ และข้อมูลเพื่อการทำงานทั้งในระดับพื้นที่ (รายเกษตรกรและระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด) และภาพรวมประเทศ (การบริหารงานส่วนกลางทั้ง สป.กษ. และ war room ของนายกรัฐมนตรีฯ) แบบออนไลน์ เป็นปัจจุบันและทันที

  31. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขั้นตอนที่อยู่ในขอบเขตของระบบที่จะพัฒนา1. การประเมินความเสียหายเบื้องต้น2. เกษตรกรผู้ประสบภัยยื่นความจำนงขอความช่วยเหลือ3. การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล4. การพิจารณาอนุมัติ5. การโอนเงินช่วยเหลือผ่านทาง ธกส6. การพิจารณาชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้จากการพักชำระหนี้ (เงินกู้สหกรณ์) และ7. การพิจารณาพักชำระดอกเบี้ยเงินกู้ สำหรับ เกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ Business Process Analysis (As-is & To-be)

  32. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขั้นตอนปัจจุบันในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยฯ - ตรวจสอบและคำนวณมูลค่าความเสียหาย - ปิดประกาศและทำประชาพิจารณ์ - สรุปรายชื่อและข้อมูลความเสียหาย จากแบบ กษ.01 และบันทึกข้อมูลใน ระบบ MS Access (JOB) รายงานเป็น กษ 02 แจ้งความเสียหายพืช (กษ.01) เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรสังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรกรผู้ประสบภัยฯ *มีความยุ่งยากในการแจ้งความเดือดร้อน เนื่องจากต้องเดินทางไปยังสำนักงานของหน่วยงานภาครัฐหลายแห่ง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกษตรกรผู้ประสบภัยฯ รายนั้นทำการเกษตรทั้งด้าน พืช ประมง และเลี้ยงสัตว์ และเป็นสมาชิกสหกรณ์ด้วย) *มีความล่าช้าในการพิจารณาการช่วยเหลือทั้งด้านเงินฉุกเฉิน(บางกรณีมากกว่า 90 วัน) และการพิจาณาการพักชำระดอกเบี้ย (บางกรณีล่าช้ามากกว่า 6 เดือน หรือ 1 ปี) *โอกาสที่เกษตรกรผู้ประสบภัย พลาดโอกาสในการได้รับการช่วยเหลือด้านการเงิน(แม้ว่าจะมีสิทธิ์) - ตรวจสอบและคำนวณมูลค่าความเสียหาย - ปิดประกาศและทำประชาพิจารณ์ - สรุปรายชื่อและข้อมูลความเสียหาย จากแบบ กษ.01 และบันทึกข้อมูลใน ระบบ MS Access (JOB) รายงานเป็น กษ 02 แจ้งความเสียหายทางประมง (กษ.01) เจ้าหน้าที่สำนักงานประมง สังกัด กรมประมง แจ้งความเสียหายปศุสัตว์(กษ.01) - ตรวจสอบและคำนวณมูลค่าความเสียหาย - ปิดประกาศและทำประชาพิจารณ์ - สรุปรายชื่อและข้อมูลความเสียหาย จากแบบ กษ.01 และบันทึกข้อมูลใน MS Excelตามแบบ กษ 02 ที่ไม่เหมือนของประมงและพืช แจ้งความเสียหายต่อสหกรณ์ (อท.01) เจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์ สังกัดปรมปศุสัตว์ • ตรวจทะเบียนสมาชิกสหกรณ์ หรือกลุ่มเกษตรฯ • ตรวจสอบว่าผู้ยื่นฯ ขึ้นทะเบียนกษตรกรใน ฐานข้อมูล ของ 1 ใน 3 กรมฯ ข้างต้นหรือไม่ • ตรวจสอบว่า มีข้อมูลใน กษ 02 ที่ได้รับอนุมัติ จาก 3 กรมหรือไม่ - โดยใช้โปรแกรม Excel เจ้าหน้าที่สหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์การเกษตรจังหวัด

  33. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขั้นตอนปัจจุบันในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยฯ(ต่อ) รมว.กษ. ให้ความเห็นชอบในการเสนอของบกลาง คณะรัฐมนตรี พิจรณาอนุมัติงบกลาง เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรตำบล ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ เจ้าหน้าที่ก.ช.ภ.อ./ก.ช.ภ.กอ. เจ้าหน้าที่เกษตรจังหวัด ก.ช.ภ.จ. เจ้าหน้าที่กสก. กปม. กปศ. เจ้าหน้าที่สำนักงานประมงอำเภอ - รวบรวมข้อมูลความเสียหาย ตามแบบ กษ.02 เสนอ ก.ช.ภ.อ • พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ใช้เงินทดรองฯ ตามที่ได้รับการจัดสรรจากผู้ว่าฯ(หากไม่เกินวงเงิน) • หากวงเงินเกินที่ได้รับการมอบหมาย ให้เสนอ ก.ช.ภ.จ. - รวบรวมข้อมูลความเสียหาย ตามแบบ กษ.03 เสนอ ก.ช.ภ.จ • พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ใช้เงินทดรองราชการจากผู้ว่าฯ หากเพียงพอ • หากวงเงินไม่เพียงพอเสนอให้ขอรับการสนับสนุนจากส่วนกลาง • ตรวจสอบเอกสาร ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย เจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด • ตรวจสอบข้อมูลกับทะเบียนเกษตรกร และ ข้อมูล กษ. 02 ของ 3 กรมฯ • พิจารณาให้ความเห็นชอบ การพักชำระดอกเบี้ย ส่งสรุปรายชื่อสมาชิกที่ได้รับความเสียหาย เจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัดและ จนท. ส่วนกลาง กรมส่งเสริมสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์

  34. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ปัญหาและอุปสรรค ในขั้นตอนช่วยเหลือปัจจุบัน • ด้านผู้ประสบภัยฯ • มีความยุ่งยากในการแจ้งความเดือดร้อน เนื่องจากต้องเดินทางไปยังสำนักงานของหน่วยงานภาครัฐหลายแห่ง (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเกษตรกรผู้ประสบภัยฯรายนั้นทำการเกษตรทั้งด้าน พืช ประมง และเลี้ยงสัตว์ และเป็นสมาชิกเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร) • มีความล่าช้าในการพิจารณาการช่วยเหลือทั้งด้านเงินฉุกเฉิน (บางกรณีมากกว่า 90วัน) และการพิจาณาการพักชำระดอกเบี้ย (บางกรณีล่าช้าเป็นปี) • เกษตรกรผู้ประสบภัย พลาดโอกาสในการได้รับการช่วยเหลือด้านการเงิน กับหน่วยงานต่างๆแม้ว่าจะมีสิทธิ์ • ด้านเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน • การจัดส่งข้อมูลการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยฯ ทั้ง 4 หน่วยงาน จัดส่งข้อมูลโดยทางอีเมล์, CD, และ/หรือในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่เป็นระบบอัตโนมัติทำให้ไม่สะดวกในการใช้งาน • ระบบส่วนใหญ่เป็นการส่งข้อมูลสรุปรายงานความช่วยเหลือ เช่นต้องส่งรายงานสรุปรวมความเสียหาย หรือส่งข้อมูล(กษ.03) ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ไม่มีรายละเอียดบุคคล (ไม่ได้ส่งข้อมูล กษ.02, อท.02) ทำให้การสรุปข้อมูลภาพรวมของประเทศ กระทำได้ยากและล่าช้า • ไม่มีระบบ Cross Check ข้อมูลผู้ประสบภัยฯ ที่สะดวก ซึ่งปัจจุบันทำการตรวจสอบข้อมูลแบบ Manual ด้วยคน (การตรวจทานข้อมูล เช่น การตรวจข้อมูลเกษตรกรผู้ประสบภัยใน กษ.02 เพื่อตรวจสอบว่าเข้าข่ายการรับการพักชำระดอกเบี้ยโดยสำนักงานสหกรณ์การเกษตร)

  35. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขั้นตอนใหม่ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยฯ เกษตรกรผู้ประสบภัยฯ • แจ้งความเสียจากภัยพิบัติด้านการเกษตร ที่มีการบูรณาการแล้ว(กษ.01)โดยมีรายละเอียดการแจ้งรายการความเสียหายดังนี้ • - ความเสียหายด้านพืช (กษ 01) • - ความเสียหายด้านปศุสัตว์ (กษ 01) • - ความเสียหายด้านประมง(กษ 01) • ข้อมูลการเป็นสมาชิกสหกรณ์ (อท 01)ทั้งสี่แบบฟอร์มมีรายการข้อมูลที่ต่างกัน แต่บางส่วนเหมือนกัน - จึงต้องมีการจัดทำความสอดคล้อง หรือ DataHarmonization ของรายการข้อมูลเหล่านี้ เพื่อจะจัดทำแบบแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ในลำดับต่อไป เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ • บันทึกข้อมูลความเสียหาย • ของผู้ประสบภัยรายบุคคล ลงในแบบ กษ.01 ที่เป็น อิเล็กทรอนิกส์ (แบบฟอร์ม รวมที่ harmonize แล้ว) • - ตรวจสอบและคำนวณมูลค่าความเสียหาย • - ปิดประกาศและทำประชาพิจารณ์ (แบบฟอร์ม กษ 02) • สรุปรายชื่อและข้อมูลความเสียหาย โดยพิจารณาจากขั้นตอนการปฏิบัติงานปัจจุบัน • ดำเนินขั้นตอน และจัดทำฟอร์ม กษ 02 ระดับ อำเภอ เพื่อให้กชภอ หรือ กชภกอ พิจารณาอนุมัติ ต่อไป • เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ • ประกอบด้วย • เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตร • เจ้าหน้าที่สำนักงานประมง • เจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์ • เจ้าหน้าที่สหกรณ์ • โดยเจ้าหน้าที่หนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานรับแจ้งความเสียหายได้อย่างเบ็ดเสร็จ

  36. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขั้นตอนใหม่ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยฯ(ต่อ) รมว.กษ. ให้ความเห็นชอบในการเสนอของบกลาง เจ้าหน้าที่กสป. กปม. กปศ. คณะรัฐมนตรี พิจรณาอนุมัติงบกลาง เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรตำบล • ตรวจสอบเอกสาร ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย NSW สำหรับงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย เจ้าหน้าที่สำนักงานประมงอำเภอ เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ เจ้าหน้าที่ก.ช.ภ.อ./ก.ช.ภ.กอ. เจ้าหน้าที่เกษตรจังหวัด เจ้าหน้าที่ก.ช.ภ.จ. ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย - รวบรวมข้อมูลความเสียหาย ตามแบบ กษ.02 เสนอ ก.ช.ภ.อ - รวบรวมข้อมูลความเสียหาย ตามแบบ กษ.03 เสนอ ก.ช.ภ.จ • พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ใช้เงินทดรองฯ ตามที่ได้รับการจัดสรรจากผู้ว่าฯ(หากไม่เกินวงเงิน) • หากวงเงินเกินที่ได้รับการมอบหมาย ให้เสนอ ก.ช.ภ.จ. • พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ใช้เงินทดรองราชการจากผู้ว่าฯ หากเพียงพอ • หากวงเงินไม่เพียงพอเสนอให้ขอรับการสนับสนุนจากส่วนกลาง ส่งสรุปรายชื่อสมาชิกที่ได้รับความเสียหาย เจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด • พิจารณาให้ความเห็นชอบการพักชำระดอกเบี้ย เจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัด เจ้าหน้าที่สหกรณ์

  37. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขั้นตอนใหม่ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยฯ(ต่อ) รมว.กษ. ให้ความเห็นชอบในการเสนอของบกลาง เจ้าหน้าที่กสป. กปม. กปศ. กสส. คณะรัฐมนตรี พิจรณาอนุมัติงบกลาง เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรจังหวัด • ตรวจสอบเอกสาร ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย NSW สำหรับงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย เจ้าหน้าที่สำนักงานประมงอำเภอ เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ เจ้าหน้าที่ก.ช.ภ.อ./ก.ช.ภ.กอ. เจ้าหน้าที่เกษตรจังหวัด เจ้าหน้าที่ก.ช.ภ.จ. ส่งสรุปข้อมูลความเสียหาย - รวบรวมข้อมูลความเสียหาย ตามแบบ กษ.02 เสนอ ก.ช.ภ.อ - รวบรวมข้อมูลความเสียหาย ตามแบบ กษ.03 เสนอ ก.ช.ภ.จ • พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ใช้เงินทดรองฯ ตามที่ได้รับการจัดสรรจากผู้ว่าฯ(หากไม่เกินวงเงิน) • หากวงเงินเกินที่ได้รับการมอบหมาย ให้เสนอ ก.ช.ภ.จ. • พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ใช้เงินทดรองราชการจากผู้ว่าฯ หากเพียงพอ • หากวงเงินไม่เพียงพอเสนอให้ขอรับการสนับสนุนจากส่วนกลาง ส่งสรุปรายชื่อสมาชิกที่ได้รับความเสียหาย เจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด • พิจารณาให้ความเห็นชอบการพักชำระหนี้ เจ้าหน้าที่สหกรณ์จังหวัด เจ้าหน้าที่สหกรณ์

  38. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ ขั้นตอน (As-Is & To-be Process Analysis) ระบบการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัย ขั้นตอนใหม่ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยฯ • ด้านผู้ประสบภัยฯ • ลดความซ้ำซ้อนในการแจ้งความเสียหายกับเจ้าหน้าที่ภาครัฐหลายหน่วยงาน • เกษตรกรผู้ประสบภัย ได้รับการช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว ถูกต้องและครอบคลุมทุกสิทธิ์ • เกษตรกร จะได้รับเงินช่วยเหลือ และ ได้รับสิทธิ์การพักชำระดอกเบี้ยได้รวดเร็ว และ แม่นยำกว่าเดิม • ด้านเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และ บริหาร • ข้อมูลมีการบูรณาการ ทำให้ลดความซ้ำซ้อน และสร้างมาตรฐานที่สอดคล้องทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • สามารถเชื่อมโยงและเข้าถึงข้อมูลสิทธิ์ และ รายละเอียดของ ผู้ประสบภัยฯ ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องและเป็นหนึ่งเดียวกันทั้งองค์กร อีกทั้งยังสามารถวางแผนการช่วยเหลือล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำและทันเวลา • ข้อมูลมีการตรวจสอบ “ความถูกต้อง” ระหว่างหน่วยงาน เช่น กรมส่งเสริมสหกรณ์สามารถตรวจสอบข้อมูลการขึ้นทะเบียนของเกษตรกรรายบุคคลได้ว่าอยู่ในฐานข้อมูลทะเบียนของเกษตรกร(ด้านปลูกพืช) ด้านประมง และด้านปศุสัตว์ได้จาก 3 กรม (กสก กมง กปศ), สามารถตรวจสอบความถูกต้องของหมายเลขบัญชีของเกษตรกรที่ ธกส(ในอนาคต เมื่อธกส พร้อมเชื่อมโยง), ตรวจสอบกับข้อมูลทะเบียนราษฎร์ (เมื่อ กรมการปกครอง ให้ความร่วมมือ), กรมทั้ง 4 กรม สำนักงานปลัด กษ หรือฝ่ายรัฐบาลสามารถตราจสอบข้อมูลสถิติผู้ประสบภัย และงบที่ส่งไปถึงเกษตรกรจริง ได้แม่นยำยึ้น)

  39. วิธีการพัฒนาระบบบูรณาการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์วิธีการพัฒนาระบบบูรณาการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ระยะที่ 1 การเตรียมการเบื้องต้น ระยะที่ 2 การกำหนดวิสัยทัศน์เพื่อ การบูรณาการและการเชื่อมโยง ระบบข้อมูลภาครัฐ ระยะที่ 3 การจัดทำสถาปัตยกรรมด้านธุรกรรม ระยะที่ 4 การจัดทำสถาปัตยกรรมด้านข้อมูล ระยะที่ 5 การจัดทำสถาปัตยกรรม ด้านระบบงาน ระยะที่ 6 การจัดทำสถาปัตยกรรมด้าน เทคโนโลยี ระยะที่ 7 การศึกษาความเป็นไปได้ในเชิงลึก ระยะที่ 8 การวางแผนการดำเนินงานเบื้องต้น ระยะที่ 9 การกำกับและดูแลการบูรณาการ เชื่อมโยงระบบข้อมูลภาครัฐ ระยะที่ 10 การปรับปรุงการบูรณาการ ในกลุ่มงาน

  40. ความต้องการ ในการเชื่อมโยง ข้อมูลธุรกิจ วิธีการจัดทำสถาปัตยกรรมตามแนวทางTOGAF 9 TOGAF-ADM - Architecture Development Method

  41. TOGAF คืออะไร • The Open Group Architecture Framework : TOGAF • The Open Group เป็นกลุ่มคนทำงานในองค์กรผู้ผลิตเทคโนโลยีและผู้ใช้เทคโนโลยีที่มองเห็นความสำคัญของการปฏิบัติระหว่างกันของระบบไอทีต่างๆโดยอิงกับมาตรฐานเปิดและการปฏิบัติการร่วมขององค์กรทั่วโลก เพื่อกำหนดแนวทาง และแบ่งปันความรู้ สำหรับการเชื่อมโยงระบบ และสนับสนุนการการปฏิบัติการร่วมของระบบ • TOGAF เป็นกรอบแนวทางที่บอกวิธีการและเครื่องมือสนับสนุนการจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture) • www.opengroup.org

  42. เตรียมองค์กรเพื่อพร้อมรองรับโครงการที่จะเกิดขึ้นเตรียมองค์กรเพื่อพร้อมรองรับโครงการที่จะเกิดขึ้น • เข้าใจโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร • การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง • มีการตกลงในขอบเขตการดำเนินงาน • กำหนดหลักการโครงการ • กำหนดการควบคุมและดูแล • การยอมรับวิธีการการจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กร ดร. สมนึก คีรีโต 42

  43. วิสัยทัศน์-ยุทธศาสตร์วิสัยทัศน์-ยุทธศาสตร์ • กำหนดขอบเขต ข้อจำกัดและเป้าหมายชัดเจน • กำหนดวิสัยทัศน์ของสถาปัตยกรรม • ตรวจสอบให้ตรงตามความต้องการทางธุรกรรม • แถลงการณ์การทำงานด้านสถาปัตยกรรมองค์กร ดร. สมนึก คีรีโต 43

  44. สถาปัตยกรรมทางด้านธุรกรรมสถาปัตยกรรมทางด้านธุรกรรม • การรวบรวมกระบวนการทางธุรกรรมผู้เกี่ยวข้องและความสัมพันธ์ระหว่างกัน • แสดงให้เห็นถึงผลที่จะสำเร็จได้ตามเป้าหมาย • จัดทำตามหลักการที่กำหนด • ประกอบด้วย • โครงสร้างการดำเนินการ • วัตถุประสงค์และเป้าหมายทางธุรกรรม • หน้าที่การงานต่างๆ • การให้บริการทางธุรกรรม • กระบวนการทางธุรกรรม • บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง • ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ดร. สมนึก คีรีโต 44

  45. ขั้นตอนการจัดทำสถาปัตยกรรมทางด้านธุรกรรมขั้นตอนการจัดทำสถาปัตยกรรมทางด้านธุรกรรม • เลือกต้นแบบอ้างอิง วิธีการดำเนินการ และเครื่องมือที่เหมาะสม • กำหนดคำอธิบายสถาปัตยกรรมทั่วไป • กำหนดคำอธิบายสถาปัตยกรรมกลุ่มเป้าหมาย • วิเคราะห์เป้าหมาย • กำหนดองค์ประกอบที่ต้องดำเนินการ • นำเสนอผู้เกี่ยวข้องให้ยอมรับ • สรุปสถาปัตยกรรม • จัดทำเอกสารประกอบสถาปัตยกรรม ดร. สมนึก คีรีโต 45

  46. สถาปัตยกรรมทางด้านข้อมูลและโปรแกรมประยุกต์สถาปัตยกรรมทางด้านข้อมูลและโปรแกรมประยุกต์ • รวบรวมข้อมูลและระบบงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ และความสัมพันธ์ระหว่างกัน • แสดงให้เห็นถึงผลที่จะสำเร็จได้ตามเป้าหมาย • จัดทำตามหลักการที่กำหนด ดร. สมนึก คีรีโต 46

  47. สถาปัตยกรรมทางด้านเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมทางด้านเทคโนโลยี • รวบรวมเทคโนโลยีของอุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และความสัมพันธ์ระหว่างกัน • จัดทำตามหลักการที่กำหนด ดร. สมนึก คีรีโต 47

  48. แนวทางการปฏิบัติ • จัดทำแผนการปฏิบัติก่อนดำเนินโครงการ • กำหนดโครงการหลักที่จะจัดทำ • จัดกลุ่มโครงการเพื่อการดำเนินการ • เลือกวิธีการจัดหา • ทำเองหรือจัดซื้อหรือปรับปรุงของเดิม • ใช้ outsource • ใช้ open source • ใช้แบบสำเร็จรูป • ประเมินลำดับความสำคัญ • รวบรวมองค์ประกอบอื่นๆที่สัมพันธ์กัน ดร. สมนึก คีรีโต 48

  49. วางแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานวางแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน • วิเคราะห์ต้นทุนและผลที่ได้รับ • ประเมินความเสี่ยง • จัดทำแผนเพื่อรองรับการติดตั้งของใหม่และปรับย้ายระบบหรือการทำงานเดิม ดร. สมนึก คีรีโต 49

  50. ควบคุมและดูแลการดำเนินงานให้ตรงเป้าหมายควบคุมและดูแลการดำเนินงานให้ตรงเป้าหมาย • จัดเตรียมการทำงานให้ครอบคลุมเป้าหมาย • รวบรวมอุปสรรคหรือข้อจำกัดในการทำงาน • ดำเนินการให้สอดคล้องกับสถาปัตยกรรมองค์กร • ตรวจสอบการดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนด • ทำให้การพัฒนาระบบเกิดผลสำเร็จ ดร. สมนึก คีรีโต 50

More Related