290 likes | 1.35k Views
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan). โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 26 พฤศจิกายน 2553. ประเด็นสำคัญ. เหตุผลของการพัฒนาข้าราชการเป็นรายบุคคล ประโยชน์และความสำคัญของแผนพัฒนารายบุคคล
E N D
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล(Individual Development Plan) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 26 พฤศจิกายน 2553
ประเด็นสำคัญ • เหตุผลของการพัฒนาข้าราชการเป็นรายบุคคล • ประโยชน์และความสำคัญของแผนพัฒนารายบุคคล • ความเชื่อมโยงของแผนพัฒนารายบุคคลกับ ผลการปฏิบัติงาน • หลักการและขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล • ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
เหตุผลของการพัฒนาข้าราชการเหตุผลของการพัฒนาข้าราชการ เป็นรายบุคคล
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 • มาตรา72ให้ส่วนราชการมีหน้าที่ดำเนินการให้มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญเพื่อให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • มาตรา 76 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาแต่งตั้งและเลื่อนเงินเดือน อีกทั้งให้นำผลการประเมินนี้ไปใช้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการด้วย
หลักการกระจายอำนาจ หลักการและค่านิยมของ การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ Competencies Performance Merit Work Life Quality
การบริหารผลการปฏิบัติงานการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) เพื่อเชื่อมโยงการปฏิบัติงานของข้าราชการกับภารกิจของหน่วยงาน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ แต่ละบุคคลให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้กระบวนการติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างได้ผล
กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน IDP Performance Planning Performance Monitoring Performance Development Performance Management Performance Review/Appraisal
หนังสือเวียนสำนักงาน ก.พ. • ให้มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างน้อย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ผลสัมฤทธิ์ของงาน และ (2) พฤติกรรมการปฏิบัติ ราชการหรือสมรรถนะ โดยผลสัมฤทธิ์ของงานจะต้องมีสัดส่วนคะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 • ในระหว่างรอบการประเมินให้ผู้ประเมินให้คำปรึกษาแนะนำ ผู้รับการประเมินเพื่อการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาเพื่อนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมหรือสมรรถนะในการปฏิบัติราชการ • เมื่อสิ้นรอบการประเมินผู้ประเมินดังกล่าวกับผู้รับการประเมิน ควรร่วมกันทำการวิเคราะห์ผลสำเร็จของงาน และพฤติกรรม หรือสมรรถนะในการปฏิบัติราชการ เพื่อหาความจำเป็นในการพัฒนาเป็นรายบุคคลด้วย
แผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan) ใช้เป็นกรอบหรือแนวทางที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานบรรลุ ถึงเป้าหมายของตนที่เชื่อมโยงหรือตอบสนองต่อความต้องการ หรือเป้าหมายในระดับหน่วยงานและองค์การ การวางแผนพัฒนารายบุคคลจะช่วยให้เกิดการพัฒนาทั้ง ในปัจจุบันและอนาคต สามารถบรรลุเป้าหมายง่ายขึ้นและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรอย่างเหมาะสม และตรง ตามความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ความเชื่อมโยงของ IDP กับ ผลการปฏิบัติงาน
การวางแผนพัฒนารายบุคคลอย่างเป็นระบบ วิสัยทัศน์องค์กร การวางแผนสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan) การวางแผนอาชีพ (Career Plan) ฯลฯ กลยุทธ์ กลยุทธ์ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินสมรรถนะ (Competency) กลยุทธ์ กลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ KPI KPI KPI เป้าหมายขององค์กร objobjobj objobj เป้าหมายที่จะบรรลุ KPIs โครงการ / ภารกิจ โครงการ / ภารกิจ
การพัฒนารายบุคคล IDP PIP อนาคต PIP PIP PIP ปัจจุบัน Training Roadmap
หลักการและขั้นตอน การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
หลักการ ACQUIRE ASSESS APPLY
ASSESS คำนึงถึงการนำไปใช้ ระบุทั้งจุดแข็ง และสิ่งที่ต้องพัฒนา ประเมินโดยใช้ข้อมูลจากหลายแหล่ง เน้นที่จุดแข็ง 1 อย่างและสิ่งที่ต้องพัฒนา 1 อย่าง
Assess : High Payoff Personal Needs High Payoff Team Needs Organizational Needs
ACQUIRE ใช้วิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย กิจกรรม 1 อย่าง ตอบโจทย์การพัฒนามากกว่า 1 ระบุอุปสรรคและการสนับสนุนที่ต้องการเพื่อให้ การเรียนรู้ไม่ติดขัด กำหนดวิธีการวัดความสำเร็จ
APPLY ใช้ทักษะที่เรียนรู้ให้ได้เร็วที่สุด กำหนดผลลัพธ์และการวัดความก้าวหน้าที่ สอดคล้องกัน คาดเดาอุปสรรคและหาทางป้องกัน เริ่มประยุกต์จากสิ่งที่ง่ายไปยาก
ขั้นตอนในกระบวนการพัฒนารายบุคคลขั้นตอนในกระบวนการพัฒนารายบุคคล • ทบทวนเป้าหมาย บทบาท ภารกิจขององค์กร และ • ระบุบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของข้าราชการนั้น ๆ การประเมินหาช่องว่างในการพัฒนา • ประเมินความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่ผู้ปฏิบัติงาน • กำหนดเป้าหมายร่วมกัน • จัดทำรายละเอียดของแผนพัฒนารายบุคคล การกำหนดวิธีการเรียนรู้ / พัฒนา • เลือกวิธีการในการพัฒนาที่เหมาะสม • ดำเนินการพัฒนาตนเองตามแผนที่จัดทำไว้ การปรับใช้ ในการปฏิบัติ งานจริง • ติดตามประเมินผลการพัฒนา ตามระยะเวลาที่กำหนด • วัดผลพัฒนาการตามวิธีการที่กำหนด
แนวทางการพัฒนา พัฒนาความรู้ พัฒนาทักษะ พัฒนาทัศนคติ • การโต้คารม • การเล่นเกมส์ที่ถูก • ออกแบบไว้ด้านนี้ • การทดลองทำ • การวิเคราะห์ตนเอง • กรณีตัวอย่าง • การสาธิต • การเล่นตามบทบาท • วีดีโอ และการฝึกฝน • การทดลองทำ • การเรียนรู้ทฤษฎี • อ่านบทความ • ฟังบรรยาย • ดูแผนผัง • ฟังจากสื่อ • จัดกลุ่มเรียนรู้
ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนฝึกปฏิบัติการจัดทำแผน พัฒนารายบุคคล
แบบฟอร์มแผนพัฒนารายบุคคล 1 2 3 4 5 1 ระบุความรู้ ทักษะ หรือสมรรถนะที่ต้องการพัฒนา (ควรใส่ประมาณ 3-4 ตัว เพื่อให้สามารถรวมไปกับข้าราชการอื่นๆ ได้) ระบุระดับเป้าหมายที่ต้องการไปสู่หลังการพัฒนา หรือระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของการพัฒนา 2 ระบุวิธีการพัฒนา เช่น 1) การส่งไปฝึกอบรม (Training and Workshops)2) การให้ไปศึกษาด้วยตนเอง เช่น อ่านหนังสือ 3) การมอบหมายงานใหม่หรือมอบหมายงานในโครงการ (Project Assignment) 4) การโอนย้ายงานชั่วคราว (Rotation/ Job Swap) 5) การให้ไปดูงาน 6) การให้ไปทำงานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ และ 7) การสอนงาน (Coaching) เป็นต้น 3 4 ระบายสีหรือวาดลูกศรช่วงเวลาที่ต้องการพัฒนา ระบุเหตุผลประกอบการพิจารณาว่าทำไมท่านจึงคิดว่าควรพัฒนาความรู้ ทักษะ หรือสมรรถนะนี้ก่อน เช่น เพราะเป็น GAP หรือเพราะตรงกับความต้องการของหน่วยงาน เป็นต้น 5 หมายเหตุ: ในกรณีที่เกิดช่องว่าง (Gap) ระหว่างคุณสมบัติที่ผู้ดำรงมีกับสมรรถนะที่ตำแหน่งต้องการให้นำสมรรถนะเหล่านั้นมาเตรียมพัฒนา หรือในกรณีที่มีครบทุกตัวให้เลือกสมรรถนะบางตัวมาพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ตำแหน่งในระดับถัดไป
ตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์ม แผนพัฒนารายบุคคล
แบบฟอร์มการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายระดับบุคคลแบบฟอร์มการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายระดับบุคคล ผู้ปฏิบัติงาน.................................................. ตำแหน่ง..........................................................