650 likes | 1.26k Views
การบรรยายเรื่อง การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเป็นระบบ ลุ่มน้ำ และแนวทางการใช้ฐานข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการลุ่มน้ำสาขา. หัวข้อการนำเสนอ. ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ ตัวอย่างการใช้งานฐานข้อมูลทรัพยากรน้ำ. ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ.
E N D
การบรรยายเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเป็นระบบลุ่มน้ำ และแนวทางการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการลุ่มน้ำสาขา
หัวข้อการนำเสนอ • ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ • แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ • ตัวอย่างการใช้งานฐานข้อมูลทรัพยากรน้ำ
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
น้ำจากฟ้า, น้ำจากอากาศ (Precipitation) คือ น้ำที่เกิดจากความชื้นที่มีอยูในอากาศที่ไดรับความเย็นและเกิดการรวมตัวกันจนมีขนาดใหญขึ้นและมีน้ำหนักมากกวาแรงลอยตัวและแรงตานทานหรือแรงเสียดทานระหวางนํ้าจากอากาศกับอากาศ จึงตกลงมาสูพื้นผิวโลก
รูปแบบของน้ำจากฟ้า Precipitation • ฝนละออง (drizzle) • ฝน (rain) • หิมะ (snow) • เกล็ดน้ำฝน/เม็ดน้ำแข็ง (sleet) • ฝนที่เย็นจัด (Freezing rain) • ลูกเห็บ (hail)
ปจจัยที่ทำให้เกิด precipitation • ความชื้นในอากาศหรือปริมาณไอนํ้าในอากาศ (moisture) มีมากกว่าปริมาณไอน้ำอิ่มตัวที่อากาศจะรับไวได • กระบวนการควบแน่น (mechanism of condensation) อุณหภูมิของมวลอากาศชื้นลดลงถึงอุณหภูมิจุดนํ้าคาง ทําใหไอนํ้าในอากาศอิ่มตัวหรือเกินจุดอิ่มตัว และเกิดการควบแนนกลั่นตัวเป็นนํ้าจากอากาศ • แกนการควบแนนหรือแกนการกลั่นตัว (condensation nuclei)ฝุนละออง ละอองจากเกสรดอกไม ไอเกลือจากทะเล ควันจากรถ ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม เกลือแกง (Calcium Chloride) และ Oxides of Nitrogen เปนตน
การเคลื่อนที่ของมวลอากาศ ลม การระเหย ความกดอากาศต่ำ ความกดอากาศสูง อุณหภูมิสูง WIND อุณหภูมิต่ำ
ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศของประเทศไทยขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุม ร่องมรสุม และลมพายุหมุนที่พัดผ่าน • ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ • ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ • ร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศต่ำ • ลมพายุหมุน
เครื่องมือตรวจวัดฝน (Rain gauge)
วัฏจักรของน้ำ คือ การเกิดและการหมุนเวียนของน้ำในโลก เป็นการเคลื่อนที่ของน้ำติดต่อกันจากอากาศมายังพื้นดิน เคลื่อนที่ลงสู่ทะเล และเคลื่อนที่กลับสู่อากาศอีกครั้ง กระบวนการเคลื่อนที่ของน้ำดังกล่าว สามารถแยกได้เป็น 4 ช่วง 1) การระเหยเป็นไอ 2) การตกลงมายังพื้นโลก 3) การซึมลงสู่พื้นดิน 4) การเกิดน้ำท่า
กระบวนการเกิดน้ำท่า กระบวนการเกิดน้ำท่าประกอบไปด้วย 1) ฝนที่ตกลงในลำน้ำโดยตรง 2) น้ำผิวดิน 3) น้ำใต้ผิวดิน 4) น้ำใต้ดิน
น้ำท่ามาจากไหน น้ำฝน (น้ำจากอากาศ) การระเหย การคายน้ำของพืช น้ำท่าผิวดิน การซึมลงดิน ชั้นที่ยังไม่อิ่มตัว น้ำท่าผิวดิน น้ำที่ไหลใต้ดิน ระดับน้ำใต้ดิน น้ำไหล คืนสู่ผิวดิน น้ำใต้ดินไหลคืนสู่ผิวดิน น้ำบาดาล ชั้นที่อิ่มตัวด้วยน้ำ
Infiltration Rainfall Excess Surface Runoff Baseflow Time
เครื่องวัดความเร็วกระแสน้ำเครื่องวัดความเร็วกระแสน้ำ • อัตราการไหล=ความเร็วxพื้นที่หน้าตัด • Q = VA
ขอบเขตลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำคืออะไร
ลุ่มน้ำ (Watershed) • พื้นที่ทั้งหมดซึ่งน้ำท่าผิวดิน (surface runoff) เกิดจากฝนที่ตกลงบนพื้นที่นี้จะไหลลงสู่จุดออก (outlet) • ลุ่มน้ำของแม่น้ำ ทะเลสาบ หรืออ่างเก็บน้ำใดๆ คือ พื้นที่ซึ่งเมื่อฝนตกลงมาแล้ว น้ำจะไหลรวมกันลงสู่แม่น้ำ ทะเลสาบ หรืออ่างเก็บน้ำนั้นๆ • สันปันน้ำ (drainage divide) • เส้นที่มีความชัดเจนทางด้านภูมิศาสตร์ซึ่งแบ่งการระบายน้ำของพื้นที่ • จุดออก (Outlet) • ตำแหน่งบนเส้นทางการไหล ซึ่งเป็นจุดรวมการระบายน้ำของพื้นที่
น้ำไหลออกมาที่จุดออกของลุ่มน้ำหลักน้ำไหลออกมาที่จุดออกของลุ่มน้ำหลัก
กราฟน้ำท่า (Hydrograph) • กราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลของน้ำท่าและเวลา • โดยเวลาที่ฐานของกราฟน้ำท่าอาจจะเป็น เดือน วัน หรือชั่วโมง http://www.uwsp.edu/geo/faculty/lemke/geomorphology/lecture_outlines/02_runoff_generation.html
แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ
ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำ • ขอบเขตลุ่มน้ำที่พิจารณา • ข้อมูลทั่วไปของลุ่มน้ำ • ปริมาณน้ำต้นทุนตามธรรมชาติ - ปริมาณน้ำฝน / การคาดการณ์ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า / การคาดการณ์ปริมาณน้ำท่า • ปริมาณน้ำต้นทุนที่สามารถเก็บกักได้ - ความสามารถในการเก็บกักน้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ – กลาง - ปริมาณน้ำที่เก็บกักอยู่ในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ - กลาง • ปริมาณน้ำต้นทุนผันมาจากลุ่มน้ำอื่น
ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำ • ปริมาณความต้องการใช้น้ำของกิจกรรมหลัก - อุปโภค-บริโภคในพื้นที่ชุมชน - อุตสาหกรรมหลักที่ใช้น้ำจากลำน้ำสายหลัก - เกษตรกรรมในพื้นที่ชลประทาน หรือพื้นที่ที่สามารถใช้น้ำจาก ลำน้ำได้ - ปริมาณน้ำต่ำสุดด้านท้ายน้ำ - อื่น ๆ เช่น การผันน้ำข้ามลุ่มน้ำ • ปริมาณน้ำบาดาลในพื้นที่
ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับพื้นที่ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับพื้นที่ • ขอบเขตพื้นที่ • ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ • แหล่งน้ำต้นทุนตามธรรมชาติ - แม่น้ำ คลอง ห้วย ลำน้ำ - หนอง บึง • แหล่งน้ำต้นทุนที่พัฒนาขึ้น - อ่างเก็บน้ำ ฝายทดน้ำ สระเก็บกักน้ำ - บ่อน้ำตื้น บ่อบาดาล - ระบบส่งน้ำจากพื้นที่อื่น
ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับพื้นที่ข้อมูลที่จำเป็นต่อการบริหารจัดการน้ำในระดับพื้นที่ • ระบบกระจายน้ำในพื้นที่ - ระบบสูบน้ำ ส่งน้ำ - ระบบประปา • ปริมาณความต้องการใช้น้ำของกิจกรรมต่างๆ - อุปโภค-บริโภคในพื้นที่ชุมชน/ชนบท - อุตสาหกรรมในพื้นที่ - เกษตรกรรม/ปศุสัตว์ - อื่น ๆ
การวิเคราะห์บัญชีน้ำ Water Accounting
บัญชีน้ำ Molden (1997) ได้เสนอการจัดการน้ำโดยใช้วิธีการจัดทำบัญชีน้ำ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์หาการใช้น้ำ การสูญหาย และผลผลิตจากน้ำในหน่วยที่พิจารณา ซึ่งการจัดทำบัญชีน้ำมีหลักการพื้นฐานคล้ายกับการทำสมดุลของน้ำ (water balance) ซึ่งพิจารณาถึงปริมาณน้ำไหลเข้า (inflow) ปริมาณไหลออก (outflow) จากขอบเขตพื้นที่ที่พิจารณา (domain) การจัดทำบัญชีน้ำสามารถวิเคราะห์ได้ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับลุ่มน้ำ (basin level) ระดับโครงการชลประทาน (irrigation service level) และระดับแปลงเพาะปลูก (field level) ซึ่งแสดงสมการสมดุลน้ำดังนี
บัญชีน้ำ ΔS = ΣI - ΣO โดยที่ ΔS= การเปลี่ยนแปลงปริมาตร ΣI= ผลรวมปริมาณน้ำที่ไหลเข้า ΣO= ผลรวมปริมาณน้ำที่ไหลออก
แนวคิดของบัญชีน้ำ • ขอบเขตพื้นที่ในการวิเคราะห์บัญชีน้ำ คือ พื้นที่ลุ่มน้ำครอบคลุมทั้งปริมาณน้ำบนผิวดิน และน้ำใต้ดิน • แหล่งน้ำในการวิเคราะห์บัญชีน้ำ พิจารณาจากปริมาณฝนที่ตกลงสู่พื้นที่ลุ่มน้ำโดยตรง ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นน้ำท่าผิวดินและซึมลงสู่ชั้นน้ำใต้ดิน เป็นปริมาณน้ำเก็บกักในพื้นที่ลุ่มน้ำ
แนวคิดของบัญชีน้ำ • การสูญเสียน้ำคิดจากการระเหยออกจากพื้นที่และกระบวนการต่าง ๆ ของมนุษย์ ส่วนการซึมลงดินจัดเป็นปริมาณน้ำเก็บกักในพื้นที่ลุ่มน้ำ • น้ำที่ไหลออกจากพื้นที่ต้องมีการกำหนดปริมาณน้ำขั้นต่ำตามสิทธิการใช้น้ำหรือข้อตกลงต่าง ๆ • ในการวิเคราะห์ปริมาณน้ำที่มีพันธะ (Committed Outflow) จะพิจารณาถึงเศรษฐกิจและสังคมด้วย
ข้อมูลที่ใช้ • ปริมาณฝนในพื้นที่ลุ่มน้ำ • ปริมาณการคายระเหยจากทุกส่วนของพื้นที่ในลุ่มน้ำ • ปริมาณการไหลเข้า และออกจากลุ่มน้ำบนผิวดิน และใต้ดิน • ปริมาณน้ำที่เก็บกักบนผิวดินและใต้ดิน
เป็นสมดุลน้ำทั้งหมดในลุ่มน้ำเป็นสมดุลน้ำทั้งหมดในลุ่มน้ำ ฝนตกโดยตรงลงสู่พื้นที่ลุ่มน้ำ น้ำระเหยออกโดยตรงจากทุกส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำ ไม่ต้องพิจารณาระบบกระจายน้ำ ทำบัญชีเป็นรายเดือน ฤดู ทั้งปี เป็นสมดุลระหว่างแหล่งน้ำ กับการใช้น้ำ มีระบบกระจายน้ำ พิจารณาประสิทธิภาพของระบบกระจายน้ำ ทำสมดุลเป็นรายเดือน บัญชีน้ำ สมดุลน้ำ
ข้อดีของการวิเคราะห์บัญชีน้ำข้อดีของการวิเคราะห์บัญชีน้ำ • บัญชีน้ำช่วยให้เห็นภาพการใช้น้ำของภาคส่วนต่างๆในลุ่มน้ำได้ง่าย • ประชาชนทั่วไปสามารถทำความเข้าใจได้ง่าย • ควรเชื่อมโยงกับการวิเคราะห์ด้าน เศรษฐกิจสังคม องค์กร และบริหารจัดการ
ลำสโตน คลองแพง ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยพรหมโหด
ลำสโตน คลองแพง ลุ่มน้ำพระปรง แม่น้ำพระปรง ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยไคร้ ห้วยพรหมโหด
ลำสโตน คลองแพง ลุ่มน้ำพระปรง แม่น้ำพระปรง ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยไคร้ ห้วยพรหมโหด คลองพระสทึง ลุ่มน้ำคลองพระสทึง คลองวังจิก คลองตาหลัง
ลำพระยาธาร ลุ่มน้ำหนุมาน แม่น้ำหนุมาน ลำสโตน ห้วยโสมง คลองแพง ลุ่มน้ำพระปรง แม่น้ำพระปรง ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยไคร้ ห้วยพรหมโหด คลองพระสทึง ลุ่มน้ำคลองพระสทึง คลองวังจิก คลองตาหลัง
ลำพระยาธาร ลุ่มน้ำหนุมาน แม่น้ำหนุมาน คลองประจันตคาม ลำสโตน ห้วยโสมง คลองแพง แม่น้ำปราจีน ลุ่มน้ำพระปรง แม่น้ำพระปรง ลุ่มน้ำปราจีนบุรีสายหลัก ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยไคร้ ห้วยพรหมโหด คลองพระสทึง ลุ่มน้ำคลองพระสทึง คลองวังจิก คลองตาหลัง
ลำพระยาธาร แม่น้ำนครนายก ลุ่มน้ำหนุมาน แม่น้ำหนุมาน คลองประจันตคาม ลุ่มน้ำนครนายก ลำสโตน ห้วยโสมง คลองแพง แม่น้ำปราจีน ลุ่มน้ำพระปรง แม่น้ำพระปรง ลุ่มน้ำปราจีนบุรีสายหลัก ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยไคร้ ห้วยพรหมโหด คลองพระสทึง ลุ่มน้ำคลองพระสทึง คลองวังจิก คลองตาหลัง
ลำพระยาธาร แม่น้ำนครนายก ลุ่มน้ำหนุมาน แม่น้ำหนุมาน คลองประจันตคาม ลุ่มน้ำนครนายก ลำสโตน ห้วยโสมง คลองแพง แม่น้ำปราจีน ลุ่มน้ำพระปรง แม่น้ำพระปรง ลุ่มน้ำปราจีนบุรีสายหลัก ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยไคร้ ห้วยพรหมโหด คลองพระสทึง คลองท่าลาด ลุ่มน้ำคลองพระสทึง ลุ่มน้ำคลองท่าลาด คลองวังจิก คลองสียัด คลองตาหลัง
ลำพระยาธาร แม่น้ำนครนายก ลุ่มน้ำหนุมาน แม่น้ำหนุมาน คลองประจันตคาม ลุ่มน้ำนครนายก ลำสโตน ห้วยโสมง คลองแพง แม่น้ำปราจีน ลุ่มน้ำพระปรง แม่น้ำพระปรง ลุ่มน้ำปราจีนบุรีสายหลัก ห้วยยาง ลุ่มน้ำโตนเลสาปตอนบน ห้วยไคร้ ลุ่มน้ำบางปะกงสายหลัก ห้วยพรหมโหด คลองพระสทึง แม่น้ำบางปะกง คลองท่าลาด ลุ่มน้ำคลองพระสทึง ลุ่มน้ำคลองท่าลาด คลองวังจิก คลองสียัด คลองตาหลัง