860 likes | 1.22k Views
การถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณ สถานศึกษา. ดร. ประจักษ์ สีหราช รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36. ประเด็นการนำเสนอ. 1. ถอดประสบการณ์ที่ผ่านมา 2. หนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมาย 3. จุดอุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา
E N D
การถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณการถอดบทเรียนการบริหารงบประมาณ สถานศึกษา ดร. ประจักษ์ สีหราช รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
ประเด็นการนำเสนอ 1.ถอดประสบการณ์ที่ผ่านมา 2.หนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมาย 3.จุดอุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหา 4.แผนงาน ที่มุ่งเน้นผลงาน
สภาพของปัญหาภาพรวม ช้า ไม่ถูกต้อง ไม่ทันใจ
ถอดประสบการณ์ที่ผ่านมาถอดประสบการณ์ที่ผ่านมา 1.ยุคกรมสามัญศึกษา (พรบ ระเบียบ ข้าราชการครู 2523) -ก่อนปี พ.ศ. 2535 ผวจ. ศธจ. (ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน) - ปี พ.ศ. 2535 ผอ.สศจ. 2.ยุคปฏิรูปการศึกษา (สพฐ) - ก่อน พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2548
SPBB องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ 6
หนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมายการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีหนทางการนำไปสู่จุดมุ่งหมายการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี รายจ่ายตามงบประมาณแยก 2 ลักษณะ 1.รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 2.รายจ่ายงบกลาง
1.รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ1.รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ 1.งบบุคลากร 2.งบดำเนินงาน 3.งบลงทุน 4.งบเงินอุดหนุน 5.งบรายจ่ายอื่น
1.งบบุคลากร 1.1 เงินเดือน -บรรจุใหม่ -เงินประจำตำแหน่ง เงินค่าตอบแทนรายเดือน - เงินเบี้ยกันดาร - เงินช่วยเหลือค่าครองชีพพิเศษ 1.2 ค่าจ้างประจำ - เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับลูกจ้างประจำ -เงินช่วยเหลือการครองชีพพิเศษ
1.3 ค่าจ้างชั่วคราว 1.4 ค่าตอบแทนพนักงาน -เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ 2 งบดำเนินงาน 2.1 ค่าตอบแทน - ค่าเช่าบ้าน - ค่าตอบแทนคณะกรรมการ - ค่าเบี้ยประชุม
2.2 ค่าใช้สอย - ค่าจ้างเหมาบริการ - ค่าช่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน - ค่ารับรองพิธีการ - ค่าธรรมเนียม ภาษี ค่าเบี้ยประกัน -ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ (ในประเทศ)
2.3 ค่าวัสดุ - สิ่งของใช้สิ้นเปลือง แปรสภาพ ไม่คงสภาพ -คงทนถาวร ราคา ต่อหน่วย เกิน 5,000.- บาท -จัดหาโปรมแกรมคอมพิวเตอร์ ต่อชุด ไม่เกิน 20,000.- บาท
2.4 ค่าสาธารณูปโภค - ไฟฟ้า ประปา ค่าน้ำบาดาล - ค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (บัตรเติมเงินโทรศัพท์ บัตรโทรศัพท์ ) - ไปรษณีย์โทรเลข ค่าบริการสื่อสาร โทรคมนาคม -
3.งบลงทุน 3.1 ค่าครุภัณฑ์ - คงทนถาวร - ประกอบดัดแปลง ต่อเติม เกิน 5,000.- บาท 3.2 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง - อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น
4. งบอุดหนุน 1. อุดหนุนทั่วไป 1.1 เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก. เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัว ข. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน - ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน - ค่าเสื้อผ้า และวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน - ค่าอาหารกลางวัน - ค่าพาหนะนักเรียนเดินทาง
1.2 เงินอุดหนุนให้เป็นปัจจัยพื้นฐาน สำหรับนักเรียนประจำ - ค่าที่พักนอน - ค่าอุปกรณ์ เครื่องครัว - ค่าเครื่องแต่งกายนักเรียนนักเรียน - ค่าเครื่องใช้ส่วนตัวนักเรียน
1.3 เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียน ประจำ 1.4 เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียน ไป - กลับ
1.สพฐ.โอนตรงสถานศึกษา -ค่าใช้จ่ายรายหัว 15 ปี 2.สพฐ. จัดสรรผ่าน สพม / สถานศึกษา หน่วยเบิก - ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน - ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนประจำ - ค่าอาหารนักเรียนประจำ - ค่าอาหารนักเรียนไป - กลับ
2.รายจ่ายงบกลาง - เงินเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญบำเหน็จตกทอด -เงินช่วยเหลือการศึกษาบุตร เงินพิเศษตายใน ราชการ เงินช่วยพิเศษ -เงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับและเงินปรับวุฒิ -เงินสมทบกองทุน กบข กองทุนเลี้ยงชีพลูกจ้าง -คารักษาพยาบาล ไข้ใน
แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์ ผลงานองค์กร แผนกลยุทธ์ การจัดทำงบประมาณ MTEF การบริหารงบประมาณ แผนปฏิบัติการ KPI/Balanced Scorecard:BSC การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล 9
เงินในสถานศึกษา 1. เงินอุดหนุน 2. เงินรายได้สถานศึกษา
หนังสือสั่งการ หนังสือ สพฐ. ที่ 04006/2279 ลว. 16 ธันวาคม 2548 2
เงินอุดหนุน 1.เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน 3.ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 3
1. เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 (สิทธิการศึกษา 12 ปี) • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10 (ไม่เสียค่าใช้จ่าย) • * หมวด 8 มาตรา 60(รัฐจัดสรร.งปม) 4
หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • “ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา • ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้ • อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” 5
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10“การจัดการศึกษา • ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ • รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐ • ต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บ • ค่าใช้จ่าย 6
* หมวด 8 มาตรา 60 “ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนของประเทศ โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณ เพื่อการศึกษาดังนี้(1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน” 7
วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 , 2545 8
แนวทางการใช้งบประมาณ 1. สถานศึกษาจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2. เสนอแผนฯ ผ่านความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. รายงานผลการดำเนินงานให้สาธารณชนทราบ 4. ใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับแผนฯ 9
งบประมาณ คชจ.รายหัว * ก่อนประถม 1,700 บาท/คน * ประถม 1,900 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนต้น 3,500 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท/คน 10
3 ประเภท ลักษณะการใช้งบประมาณ • งบบุคลากร • *ค่าจ้างชั่วคราว เช่น จ้างครูอัตราจ้างรายเดือน • พนักงานขับรถ ฯลฯ 11
งบดำเนินงาน • * ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร • ค่าตอบแทนวิทยากรวิชาชีพท้องถิ่น ฯลฯ • * ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ • ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าพาหนะพา นร. • ไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ฯลฯ • * ค่าวัสดุ เช่น ค่าวัสดุการศึกษา ค่าเครื่องเขียน • ค่าวัสดุเวชภัณฑ์ ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน ฯลฯ • * ค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ • ฯลฯ 12
งบลงทุน • * ค่าครุภัณฑ์ เช่น จัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ • * ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อประกอบ • ดัดแปลงต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน • ค่าถมดิน ถนน รั้ว สะพาน บ่อน้ำ ฯลฯ 13
2. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน นร.ยากจน = นร.ที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่อครัวเรือน ไม่เกิน 40,000 บาท/ปี ให้นักเรียนยากจนขาดแคลน ชั้น ป. 1 – ม. 3 14
งบประมาณ * ประถม 1,000 640 บาท/คน/ปี * มัธยมศึกษาตอนต้น และขยายโอกาส 3,000 2,550 บาท/คน/ปี 15
ลักษณะการใช้งบประมาณ ลักษณะ ถัวจ่าย ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน ค่าเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายนักเรียน ค่าอาหารกลางวัน และค่าพาหนะในการเดินทาง 16
การใช้จ่ายงบประมาณ • 1. ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน • 2. ค่าเสื้อผ้าและวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน • ค่าอาหารกลางวัน • ค่าพาหนะในการเดินทาง 17
การจัดซื้อ – จัดจ้าง – จัดหา ดำเนินการตามระเบียบฯพัสดุ การจ่ายเงินสดให้ นร. โดยตรง แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน ร่วมกันจ่ายเงิน ใช้ใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐาน 18
แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูล นร.ยากจน และรายงาน สพม. • เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ยากจน • รายงานผลการดำเนินงาน 19
3. ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน ป. 1 - ม. 3 20
ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอนค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน = เงินงบประมาณที่จัดสรรให้แก่สถานศึกษาที่ได้ ดำเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียน ซึ่งมีถิ่นที่อยู่ไม่สะดวก ห่างไกล กันดาร ไว้สำหรับพักอาศัย ทั้งที่จัดในและ นอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการควบคุม ดูแล และจัดระบบแบบเต็มเวลา 21
ยกเว้น • นร.ในสถานศึกษาทั่วไปแบบประจำ • นร.ในสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ • สถานศึกษาที่ได้ดำเนินการจัดหอพักในสถานศึกษาและได้เรียกเก็บเงินค่าอาหาร นร. ประจำพักนอนทุกคนแล้ว • กรณีเรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน จัดสรรให้ได้เฉพาะจำนวน นร. ส่วนที่เหลือ 22
ลักษณะการใช้งบประมาณ ใช้เป็นค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 23
การใช้จ่ายงบประมาณ • จ่ายหรือจัดหาอาหาร โดยเลือกวิธีได้ดังนี้ • * จัดซื้อวัตถุดิบประกอบอาหาร หรือ • จ้างเหมาทำอาหาร • * จ่ายเงินสดให้ นร. • หากมีงบประมาณคงเหลือ สามารถนำไป • ใช้จ่ายรายการอื่นที่เกี่ยวกับการจัดอาหารได้ 24
แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูลจากโครงการ นร.ประจำพักนอน • และรายงาน สพท. เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุน • งบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ประจำพักนอน • รายงานผลการดำเนินงาน 25
ระเบียบ สพฐ. ว่าด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับ เงินรายได้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2549 1
สถานศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ตามประกาศของ สพม. 2
เงินรายได้สถานศึกษา บรรดารายได้ ผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ราชพัสดุเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษาและเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาการซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทำของที่ดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณ เงินที่มีผู้มอบให้ และเงินหรือผลประโยชน์อื่นที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ แต่ไม่รวมถึงเงินงบประมาณรายจ่าย 3
การรับเงินและการเก็บรักษาเงินการรับเงินและการเก็บรักษาเงิน หมวด 1 ข้อ 5 - ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งที่รับเงิน - ใบเสร็จรับเงินใช้ตามแบบทางราชการ - ควบคุมใบเสร็จรับเงินให้ตรวจสอบได้ ข้อ 6 - เก็บรักษาเงินสดไว้สำรองจ่ายตามที่ สพฐ. กำหนด - นอกนั้นนำฝากกระทรวงการคลังหรือ สำนักงานคลังจังหวัด หรือนำฝากธนาคาร 4
การก่อหนี้ผูกพันและการใช้จ่ายเงินการก่อหนี้ผูกพันและการใช้จ่ายเงิน หมวด 2 ข้อ 7 - เงินรายได้สถานศึกษาใดให้ใช้จ่าย หรือก่อหนี้ผูกพันเฉพาะสถานศึกษานั้น ข้อ 8 - ให้นำเงินรายได้ฯไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามหลักเกณฑ์ อัตราและวิธีการที่ สพฐ. กำหนด ข้อ 9 - อำนาจการอนุมัติจ่ายและก่อหนี้ผูกพันให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ เลขา สพฐ. กำหนด 5