1 / 51

“ กำกับแบบเข้าใจ คาดหวังได้ในบริการ ”

การบริหารการคลัง ของส่วนราชการ. สำหรับนักบริหารระดับสูง. กรมบัญชีกลาง. “ กำกับแบบเข้าใจ คาดหวังได้ในบริการ ”. เอกสารบรรยายได้รับความอนุเคราะห์จากท่านรองฯ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กุมภาพันธ์ 255 2. เค้าโครงการบรรยาย. 3. หลักการบริหาร การคลัง. 2. 1.

Download Presentation

“ กำกับแบบเข้าใจ คาดหวังได้ในบริการ ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการคลัง ของส่วนราชการ สำหรับนักบริหารระดับสูง กรมบัญชีกลาง “กำกับแบบเข้าใจ คาดหวังได้ในบริการ” เอกสารบรรยายได้รับความอนุเคราะห์จากท่านรองฯ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กุมภาพันธ์ 2552

  2. เค้าโครงการบรรยาย 3 หลักการบริหาร การคลัง 2 1 1.การบริหารการคลังของส่วนราชการ 1.1 ระบบงบประมาณ 1.2 ระบบการเงิน 1.3 ระบบจัดซื้อ/จ้าง 1.4 ระบบบัญชี 2.การบริหารการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 2.1 e-Government & GFMIS 2.2 ภาพรวม GFMIS การบริหารการคลัง ของส่วนราชการ

  3. หลักการบริหารการคลัง รายได้ รายจ่าย

  4. กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการคลังกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการคลัง - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 - พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ.2491 - พรบ. วิธีการงบประมาณพ.ศ. 2502

  5. รายได้ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24บรรดาเงินที่ส่วนราชการได้รับเป็นกรรมสิทธิ์ ไม่ว่าจะได้รับตามกฎหมาย หรือระเบียบ ข้อบังคับ หรือได้รับชำระหนี้ตามอำนาจหน้าที่หรือสัญญา หรือได้รับจากการให้ใช้ทรัพย์สิน หรือเก็บดอกผลจากทรัพย์สินของทางราชการ ให้ ส่วนราชการที่ได้รับเงินนั้นนำส่งคลังตามระเบียบหรือข้อบังคับที่รัฐมนตรีกำหนด เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดเป็นอย่างอื่น ส่วนราชการใด ได้รับเงินที่มีผู้มอบให้โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ส่วนราชการนั้นใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้นก็ดี หรือได้รับเงินที่เกิดจากทรัพย์สิน ซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผลใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้นก็ดี ให้ส่วนราชการนั้นจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันภายในวงเงินที่ได้รับนั้นได้และไม่ต้องนำส่งคลัง

  6. ในกรณีส่วนราชการได้รับเงินตามโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษแห่งสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศอื่นใดหรือบุคคลใดไม่ว่าจะเป็นเงินให้กู้หรือให้เปล่า รวมทั้งเงินที่ส่วนราชการได้รับสืบเนื่องจากโครงการช่วยเหลือ หรือร่วมมือเช่นว่านั้น รัฐมนตรีจะกำหนดเป็นอย่างอื่นโดยไม่ต้องนำส่งคลังก็ได้

  7. รัฐมนตรีจะอนุญาตให้ส่วนราชการที่ได้รับเงินในกรณีต่อไปนี้ นำเงินนั้นไปใช้จ่าย โดยไม่ต้องนำส่งคลังก็ได้คือ (1) เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหายหรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา (2) เงินรายรับของส่วนราชการที่เป็นสถานพยาบาล สถานศึกษา หรือสถานอื่นใดที่อำนวยบริการอันเป็นสาธารณประโยชน์หรือประชาสงเคราะห์ (3) เงินที่ได้รับในลักษณะผลพลอยได้จากการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ (4) เงินที่ได้รับจากการจำหน่ายหุ้นในนิติบุคคลเพื่อนำไปซื้อหุ้นในนิติบุคคลอื่น การจ่ายเงินตาม (2) และ (3) ต้องเป็นไปตามระเบียบที่ได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีและผู้อำนวยการส่วนการจำหน่ายหุ้นและการซื้อหุ้นตาม (4) ต้องเป็นไปตามระเบียบของกระทรวงการคลังที่ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี

  8. รายจ่าย พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 6 ภายใต้บังคับแห่งมาตรา 7 มาตรา 8 และมาตรา 12 การสั่งจ่ายเงินจากบัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 2 หรือคลังจังหวัด หรือคลังอำเภอ ให้กระทำได้แต่เฉพาะตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติงบประมาณประจำปี พระราชบัญญัติงบประมาณเพิ่มเติม พระราชบัญญัติโอนเงินในงบประมาณ มติให้จ่ายเงินไปก่อน หรือพระราชกำหนดที่ออกตามความในบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

  9. พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 7ในกรณีต่อไปนี้ ให้สั่งจ่ายเงินจากบัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 2 หรือคลังจังหวัด หรือคลังอำเภอได้ ก่อนที่มีกฎหมายอนุญาตให้จ่าย คือ (1) รายการจ่ายที่มีการอนุญาตให้จ่ายเงินได้แล้วตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ แต่เงินที่ตั้งไว้มีจำนวนไม่พอจ่ายและพฤติการณ์เกิดขึ้นให้มีความจำเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว (2) มีกฎหมายใดๆ ที่กระทำให้ต้องจ่ายเงินเพื่อปฏิบัติตามกฎหมายนั้นๆ และมีความจำเป็น ต้องจ่ายโดยเร็ว (3) มีข้อผูกพันกับรัฐบาลต่างประเทศหรือสถาบันการเงินระหว่างประเทศที่กระทำให้ต้องจ่ายเงิน และมีความจำเป็นต้องจ่ายอย่างเร่งด่วน (4) เพื่อซื้อคืนหรือไถ่ถอนพันธบัตรของรัฐบาลหรือตราสารเงินกู้ของกระทรวงการคลังหรือชำระหนี้ตามสัญญากู้ที่กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ ทั้งนี้ตามจำนวนที่รัฐมนตรีเห็นสมควร (5) เพื่อซื้อเงินตราต่างประเทศ พันธบัตรของรัฐบาลต่างประเทศ หรือหลักทรัพย์ที่มั่นคงในต่างประเทศที่ไม่ใช่หุ้นในสกุลเงินตราที่จะต้องชำระหนี้ที่กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ และในวงเงินไม่เกินจำนวนหนี้ที่ถึงกำหนดชำระในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการชำระหนี้เมื่อถึงกำหนด ทั้งนี้ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการซื้อเงินตราต่างประเทศ พันธบัตรของรัฐบาลต่างประเทศ และหลักทรัพย์ที่มั่นคงในต่างประเทศที่ไม่ใช่หุ้น การนำเงินตราต่างประเทศฝากธนาคาร รวมทั้งวิธีปฏิบัติอื่นใดที่เกี่ยวข้อง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................

  10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 169การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้ก็เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เว้นแต่ในกรณีจำเป็นเร่งด่วน รัฐบาลจะจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ........................................................................... ......................................................................................................................................................................

  11. พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 6 วรรคท้าย ในกรณีที่จ่ายเงินตามมติให้จ่ายเงินไปก่อนหรือตามพระราชกำหนด ให้ตั้งเงินรายจ่ายเพื่อชดใช้ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือพระราชบัญญัติงบประมาณเพิ่มเติม มาตรา 7 วรรคท้าย การจ่ายเงินในห้ากรณีข้างต้นนี้ เมื่อได้จ่ายแล้วให้ตั้งเงินรายจ่ายเพื่อชดใช้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณ หรือในกฎหมายว่าด้วยการโอนงบประมาณรายจ่ายหรือในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณต่อไป มาตรา 14 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังก็ดี หรือรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินทุนสำรองจ่ายตามมาตรา 29 ทวิ ก็ดี ให้แยกตั้งไว้เป็นส่วนหนึ่งต่างหากในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย และให้ถือว่าเป็นรายจ่ายของปีงบประมาณที่ได้จ่ายเงินคงคลังหรือเงินทุนสำรองจ่ายนั้นๆ ไป พระราชบัญญัติวิธีงบประมาณ พ.ศ. 2502

  12. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 169 ในกรณีเช่นว่านี้ ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังในพระราชบัญญัติโอนเงินงบประมาณรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณถัดไป ทั้งนี้ให้กำหนดแหล่งที่มาของรายได้เพื่อชดใช้รายจ่ายที่ได้ใช้เงินคงคลังจ่ายไปก่อนแล้วด้วย

  13. หลักการบริหารการคลัง 2 6 7 3 8 5 4 1 เงินคงคลัง

  14. เศรษฐกิจและการคลัง

  15. เศรษฐกิจและการคลัง

  16. เงินคงคลัง โดยไพรินทร์ ศรีศุภวินิจสำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

  17. เป้าหมายของนโยบายการคลังเป้าหมายของนโยบายการคลัง • บริหารหนี้สาธารณะ • ให้อยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง • บริหารสินทรัพย์เพื่อ • เป็นรายได้ • กระจายรายได้ • ที่เป็นธรรม • จัดสรรทรัพยากร • อย่างมีประสิทธิภาพ • สร้างความเจริญเติบโต • และรักษาเสถียรภาพ • ทางเศรษฐกิจ

  18. เครื่องมือและการดำเนินงานทางการคลังเครื่องมือและการดำเนินงานทางการคลัง ภาษี คือการกำหนด การเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข อัตราภาษีอากร และฐานภาษีอากร รายจ่าย คือการกำหนดวงเงินงบประมาณรายจ่าย การอนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจ่าย และการบริหาร การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ที่ราชพัสดุ คือการบริหารสินทรัพย์ของรัฐให้เกิดประโยชน์ เงินคงคลัง คือการบริหารเงินคงคลังให้มีจำนวนเหมาะสมและเพียงพอต่อการใช้จ่ายเงินของรัฐ รัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินของรัฐ คือการนำไปพัฒนาและแก้ไขปัญหาของธุรกิจ สังคม และชุมชน หนี้สาธารณะ คือการจัดหาและการบริหารเงินกู้เพื่อนำมาใช้ในการลงทุนและดำเนินงานของรัฐ

  19. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการคลังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการคลัง นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี กระทรวง กรม กระทรวงการคลัง สรรพากร สรรพสามิต บัญชีกลาง สศค. ศุลกากร ธนารักษ์ สบน. สคร. บัญชีกลาง อื่นๆ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

  20. สรรพากร สรรพสามิต ธนารักษ์ สคร. ศุลกากร บัญชีกลาง สศค. บัญชีกลาง สบน. สำนัก งบประมาณ

  21. การควบคุมและประเมินผลการคลังการควบคุมและประเมินผลการคลัง ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน องค์กรนิติบัญญัติ ประชาชน ประชาชน องค์กรอิสระ รัฐบาล หน่วยงานกลาง กระทรวง กรม INTERNAL / EXTERNAL ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน ประชาชน

  22. สรุปการคลังและการบริหารการคลังสรุปการคลังและการบริหารการคลัง

  23. เค้าโครงการบรรยาย 3 หลักการบริหาร การคลัง 2 1 1.การบริหารการคลังของส่วนราชการ 1.1 ระบบงบประมาณ 1.2 ระบบการเงิน 1.3 ระบบจัดซื้อ/จ้าง 1.4 ระบบบัญชี 2.การบริหารการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 2.1 e-Government & GFMIS 2.2 ภาพรวม GFMIS การบริหารการคลัง ของส่วนราชการ

  24. ระบบงบประมาณ รายได้ รายจ่าย การบริหารการคลังระดับรัฐบาล กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ทางการเงินการคลัง บริการทาง การเงินการคลัง การบริหารการคลังระดับส่วนราชการ ส่วนราชการ เข้ามาใช้บริการ ส่วนราชการ นำไปปฏิบัติ การรับ-จ่ายเงินของรัฐมีความถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส เป็นประโยชน์ คุ้มค่า และตรวจสอบได้ WIN WIN

  25. การบริหารการคลังระดับส่วนราชการการบริหารการคลังระดับส่วนราชการ 1. การบริหารการคลังของส่วนราชการ 1.1 ระบบงบประมาณ 1.2 ระบบการเงิน 1.3 ระบบจัดซื้อ/จ้าง 1.4 ระบบบัญชี 2. การบริหารการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 2.1 e-Government & GFMIS 2.2 ภาพรวม GFMIS

  26. พรบ.วิธีการงบประมาณ มาตรา 1 - 11 1. อำนาจหน้าที่ของสำนักงบประมาณ 2. ลักษณะงบประมาณ 3. การจัดทำงบประมาณ 5. การควบคุมงบประมาณ - หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงิน - วางระบบบัญชีให้ ส่วนราชการปฏิบัติ - ประมวลบัญชีแผ่นดิน - หลักเกณฑ์การนำเงินส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน และข้อยกเว้น - อำนาจในการกู้เงิน - งบประมาณรายจ่ายข้ามปี และการกันเงิน - เงินทดรองราชการ - เงินทุนสำรองจ่าย - รายงานการเงินแผ่นดิน - บทกำหนดโทษ มาตรา 12 - 18 สำนักงบประมาณ ส่วนราชการ กระทรวงการคลัง มาตรา 19 - 20 มาตรา 21 - 30 4. การโอน/เปลี่ยนแปลงเงินงบประมาณ และการใช้จ่ายเงินงบประมาณ

  27. กระบวนการงบประมาณ 1. นโยบายรัฐบาล เป้าหมายทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ประเทศ ( แผนบริหารราชการแผ่นดิน ) 2. ยุทธศาสตร์กระทรวง / จังหวัด แผนกลยุทธ์หน่วยงาน โครงการ /ผลผลิต / ตัวชี้วัด ( แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการประจำปี ) 8. ติดตามผลและประเมินผล 7. การดำเนินงาน 3. กรอบวงเงินงบประมาณ - รายจ่ายระยะปานกลาง วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี ( แผนงบประมาณ ) 6. ควบคุมและเบิกจ่ายงบประมาณ และรับเงินรายได้เข้าคลัง 4. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ( เกินดุล / สมดุล / ขาดดุล ) 5. บริหารงบประมาณ ข้อตกลงการปฏิบัติราชการ ประมาณการรายได้ - จัดเก็บรายได้ - นำเงินรายได้ส่งคลัง

  28. วงจรการจัดทำ บริหาร และควบคุมงบประมาณรายจ่าย แผนพัฒนาเศรษฐกิจ (5 ปี) นโยบายรัฐบาล สตง. คณะกรรมการจัดทำแผน MTEF (กค . สงป. ธปท. สศช.) 1. การจัดทำกรอบแผน MTEF ครม. อนุมัติ ตรวจสอบการใช้เงินของ ส่วนราชการ 11. การตรวจสอบภายนอก 2. การจัดทำแผนกลยุทธ์ ระยะปานกลาง (4 ปี) ส่วนราชการ ตรวจสอบการดำเนินงาน คณะกรรมการติดตามและ ประเมินผลการดำเนินงาน ของส่วนราชการ (กพร.) แปลงแผนย่อย 10. การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่วนราชการ 3. การจัดทำแผนปฏิบัติการ และทำคำของบประมาณ สงป. ส่วนราชการ กระบวนการจัดทำ งบประมาณประจำปี ของส่วนราชการ กระบวนการบริหาร และควบคุม งบประมาณ 9. รายงานผลการดำเนินงาน รายงานผลการรับจ่ายเงิน กรมบัญชีกลาง - คณะกรรมการ ปรับปรุง ประสิทธิภาพ งานของราชการ (กพร.) - ส่วนราชการ 4. การจัดทำบันทึกข้อตกลง การปฏิบัติราชการ ส่วนราชการ 8. กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี กรมบัญชีกลาง 5. พิจารณาคำขอ งปม. ของ ส่วนราชการ ทำและเสนอร่าง พ.ร.บ. งปม.รายจ่ายประจำปี ส่วนราชการ 7.เบิก-จ่ายเงินงบประมาณ ตามที่ได้รับ จัดสรร และรับเงินรายได้เข้าคลัง สงป. กรมบัญชีกลาง 6. จัดสรร / โฮนเปลี่ยนแปลง เงินงบประมาณลง หน่วยเบิกจ่ายในสังกัด ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - วางกติกาทางการคลัง ให้ส่วนราชการปฏิบัติ - กฎหมาย/ระเบียบ - พัสดุ - บัญชี - ตรวจสอบภายใน - ให้บริการรับ-จ่ายเงินกับส่วนราชการ - บริหารเงินคงคลัง รัฐสภาพิจารณาอนุมัติและ สงป. จัดสรรเงินงบประมาณ ตามแผนการใช้จ่ายเงิน ให้ส่วนราชการ ส่วนราชการ

  29. การใช้จ่ายเงินงบประมาณการใช้จ่ายเงินงบประมาณ พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี GFMIS แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ กฎหมายและระเบียบการคลัง ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง สงป.จัดสรรงบประมาณให้ส่วนราชการ เงินคงคลัง บัญชีที่ 2 (เงินคงคลัง ณ สนง.คลังจังหวัด) หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงิน ผู้มีสิทธิ การได้ / เกิดสิทธิ การรับรองสิทธิ การอนุมัติ อัตรา / จำนวนเงิน (ภาคบังคับตามกฎหมาย และระเบียบการคลัง หรือดุลยพินิจของหัวหน้า ส่วนราชการ) • หลักเกณฑ์การเบิกเงิน • กับกระทรวงการคลัง • ส่วนราชการวางฎีกา • ขอเบิกเงิน • กรมบัญชีกลาง/สนง. • คลังจังหวัด • - ตรวจฎีกา • - ลายมือชื่อผู้เบิก • - รายการขอเบิกถูกต้อง • ตามกฎหมาย/ระเบียบ • หรือมีคำรับรองของ • ผู้เบิก • - วงเงินงบประมาณ • เพียงพอ • - อนุมัติฎีกา • - สั่งจ่ายเงินคงคลัง • - โอนเงินเข้าบัญชี • เงินฝากธนาคาร • ของส่วนราชการ บัญชีงบประมาณของส่วนราชการที่กระทรวงการคลัง วงเงิน (บาท) แผนงาน งาน/โครงการ xxxxxx งบบุคลากร xxxx งบดำเนินงาน xxxx งบลงทุน xxxx งบเงินอุดหนุน xxxx งบรายจ่ายอื่น xxxx บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ ส่วนราชการ ในงบประมาณ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ บัญชีงบประมาณงบกลาง (กรมบัญชีกลางดูแล) บำเหน็จบำนาญ xxxx เงินช่วยเหลือ xxxx เงินสวัสดิการ xxxx อื่น ๆ xxxx จ่ายเงินจากบัญชี เงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ - อนุมัติการจ่าย - จ่ายเงิน - ตรวจสอบ - ทำ/ส่งงบเดือน พร้อมหลักฐาน การจ่ายให้ สตง. เจ้าหนี้ ผู้มีสิทธิ บัญชีงบประมาณงบกลาง (สำนักงบประมาณดูแล) เงินสำรองจ่ายฉุกเฉิน xxxx อื่น ๆ xxxx

  30. การรับเงินและนำเงินส่งคลังการรับเงินและนำเงินส่งคลัง GFMIS ม. 24 พรบ.วิธีการงบประมาณ ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ - กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ระเบียบการเก็บรักษาเงิน และการนำส่งเงินของส่วนราชการ นำเงินรายได้แผ่นดิน ส่งคลัง - ส่วนราชการนำเงินฝาก เข้าบัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 1 หรือบัญชีเงินฝาก สนง.คลังที่ KTB - กรมบัญชีกลาง/สนง.คลัง ตรวจสอบ/กระทบยอด การนำเงินส่งคลัง เงินคงคลัง บัญชีที่ 1 (เงินคงคลัง ณ สนง.คลังจังหวัด) ส่วนราชการ - จัดเก็บเงินจากประชาชน ตามที่กฎหมายให้อำนาจ - เก็บรักษาเงินที่จัดเก็บได้ ในลักษณะเงินสด (เช็ค) หรือเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) รอไว้ เพื่อนำส่งคลังตาม วงเงินและระยะเวลา ที่กำหนด เงินรายได้แผ่นดิน (ภาษี ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และรายได้อื่น ๆ ) นำเงินนอกงบประมาณ ฝากคลัง เงินนอกงบประมาณ บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ ส่วนราชการ นอกงบประมาณ นำเงินนอกงบประมาณ ฝากเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารพาณิชย์ของตนเอง (ได้รับอนุญาต) การใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ เข้มข้นน้อยกว่าหรือเหมือนกับ เงินงบประมาณ

  31. การเก็บรักษาเงิน ธปท./ธนาคารพาณิชย์ เงินคงคลังที่ ธปท. บัญชีที่ 1 บัญชีที่ 2 (เงินคงคลัง ณ สนง.คลังจังหวัด บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับการจ่ายเงิน งบประมาณ บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับจัดเก็บและ นำส่งเงินรายได้แผ่นดิน (ถ้ามี) เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ นำส่งเงิน รายได้แผ่นดิน บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับการจ่ายเงิน นอกงบประมาณ เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ เงินสด/ เช็ค ประชาชน นำเงินนอกงบประมาณฝากคลัง บัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ สำหรับรับ-เก็บรักษา และนำฝากคลัง เงินสด/ เช็ค เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ

  32. ระบบพัสดุ GFMIS ส่วนราชการ (ผู้ซื้อ) กรมบัญชีกลาง บุคคลภายนอก (ผู้ขาย) ระเบียบพัสดุ -ทั่วไป -electronic 1 - แผนการจัดซื้อจัดจ้าง - อนุมัติให้ดำเนินการ 2 - เตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง - แต่งตั้งกรรมการ ปฏิบัติตามในส่วนที่เกี่ยวข้อง 3 e-Auction e-Shopping e-Catalog • ดำเนินการซื้อ/จ้าง • -ได้ตัวผู้ขาย/ผู้รับจ้าง • (ไม่อยู่ใน Black list) 5 4 - บันทึกสัญญา/ใบสั่งซื้อ เข้าระบบ - ทำสัญญา/ใบสั่งซื้อ - ผู้มีอำนาจลงนามในสัญญา/ ใบสั่งซื้อ - ส่งเอกสารให้ผู้ขาย 6 รับสัญญา/ใบสั่งซื้อ 7 ส่งของ/งาน และแจ้งหนี้ 8 9 บันทึกการตรวจรับเข้าระบบ ตรวจรับพัสดุ/งาน 10 12 ขอเบิกเงินจากคลัง รับการชำระเงินโดยวิธีการ โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร 11 จ่ายเงินให้ผู้ขาย

  33. การทำบัญชี GFMIS - ดำเนินการให้ถูกต้องครบถ้วน ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง - ผู้จัดทำ ผู้ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ ลงลายมือชื่อในหลักฐาน เอกสาร/หลักฐาน ทางการเงินและบัญชี *สมุดบันทึกรายการขั้นต้น *ทะเบียน *บัญชีแยกประเภท บันทึกรายการบัญชี ประจำวัน รายงานการเงิน ประจำวัน ปิดบัญชี สิ้นเดือน/ปี งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้ค่าใช้จ่าย งบกระแสเงินสด

  34. กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ส่วนราชการ ระดับกรม องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ ลักษณะพิเศษ หน่วยงานอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชน หน่วยงานอิสระอื่น ของรัฐ กองทุนเงินนอก งบประมาณ ส่วนราชการ ภูมิภาค เงินทุน/กองทุน นอกงบประมาณ หน่วยงานย่อย

  35. การทำบัญชีต้นทุน 3 Cost Allocation ค่าใช้จ่ายจาก ระบบบัญชี เกณฑ์คงค้าง หน่วยงานสนับสนุน (Support Cost Center) ค่าใช้จ่าย ทางตรง (Direct Cost) 4 Cost Allocation กิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก Cost Allocation 2 ผลผลิต 1 กิจกรรมย่อย หน่วยงานหลัก (Functional Cost Center) กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม (Indirect Cost) กิจกรรมย่อย ผลผลิต 2 หน่วยงานหลัก (Functional Cost Center) กิจกรรมย่อย กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย Cost Allocation 1

  36. การบริหารการคลังระดับส่วนราชการการบริหารการคลังระดับส่วนราชการ 1. การบริหารการคลังของส่วนราชการ 1.1 ระบบงบประมาณ 1.2 ระบบการเงิน 1.3 ระบบจัดซื้อ/จ้าง 1.4 ระบบบัญชี 2. การบริหารการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 2.1 e-Government & GFMIS 2.2 ภาพรวม GFMIS

  37. นโยบายของรัฐบาล e-Government e - Government ส่วนราชการ การให้บริการประชาชน ตามภารกิจของส่วนราชการ แต่ละแห่ง การบริหารการเงิน - งบประมาณ - จัดซื้อ / จัดจ้าง - การเงิน (รับ-จ่ายเงิน) - การบัญชีและ รายงานการเงิน งานหลัก Front Office งานสนับสนุน Back Office Electronic (e-Service) GFMIS

  38. เป้าหมายสำคัญโครงการ GFMIS National System Single Entry Online Realtime MatrixReport

  39. โครงสร้างระบบการสื่อสารเครือข่ายโครงสร้างระบบการสื่อสารเครือข่าย หน่วยงานภูมิภาค ขนาดเล็ก 3,413 Internet ระบบเครือข่าย ความปลอดภัยสูง หน่วยงานภูมิภาค ขนาดเล็ก 3,825 Intranet กระทรวง หน่วยเบิกจ่ายหลัก ภูมิภาค277416 คลังจังหวัด 270 ระดับกรม 484635 สรก.เดินทาง กรมบัญชีกลาง 52 ศูนย์คอมพิวเตอร์และศูนย์สำรอง สำนัก งบประมาณ 50 FM PO FI สตง 50 MIS สบน. 5 ก.พ. 3 MIS 50 60 รวม GFMIS Terminal 1,241+300 = 1,541Terminals รวม Excel Loader = 7,238 หน่วยเบิกจ่าย

  40. ภาพรวมการทำงานของระบบ GFMIS ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ 1 ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง บัญชีเงินฝาก เจ้าหนี้/ ส่วนราชการ สำนักงาน GFMIS ส่วนราชการผู้เบิก/ ผู้นำส่งเงิน หน่วยเบิกจ่าย หน่วยนำส่งเงิน 5 กองคลัง ทำข้อมูลลง excel file บันทึกข้อมูล ทำข้อมูลลง excel file SAP R/3 Terminal GFMIS บัญชีเงินฝาก กรมบัญชีกลาง/ สำนักงานคลัง Internet Intranet Load ข้อมูล Terminal GFMIS GFMIS 2 สำนักงาน คลังจังหวัด ธนาคารกรุงไทย/ธนาคารพาณิชย์อื่น 4 ดึงข้อมูลไปตรวจ/อนุมัติ/ สั่งจ่าย/กระทบยอดรับ-จ่าย AC โอนเงินเข้า/ออก จากบัญชี เงินคงคลัง สำนักงบประมาณ/ กรมบัญชีกลาง GFMIS ธนาคารแห่งประเทศไทย 3 BAHTNET AC

  41. ระบบงาน GFMIS สงป. BIS กพ.DPIS AFMIS MIS (ระบบสารสนเทศ) SAP R/3 (GFMIS) FI ระบบการเงินและบัญชี ประกอบด้วย AP = ระบบเบิกจ่าย RP = ระบบรับและนำส่งเงิน CM = ระบบบริหารเงินสด FA = ระบบสินทรัพย์ถาวร GL = ระบบบัญชีแยก ประเภท (3) (2) PO ระบบจัดซื้อจัดจ้าง (1) (4) CO ระบบต้นทุน FM ระบบบริหารงบประมาณ (5) HR ระบบทรัพยากรบุคคล e-Payroll e-Pension e-Medical กรมบัญชีกลาง e-Procurement กรมบัญชีกลาง

  42. Audit Around GFMIS ผู้อนุมัติ ส่วนราชการ (ผู้เบิก) Card User ID Password ผู้ตรวจสอบ ผู้บันทึกข้อมูล บันทึกข้อมูล เข้าสู่ระบบ GFMIS Terminal Excel Loader การประมวลผล ข้อมูลเดือน และออก รายงานต่าง ๆ ตามระบบ GFMIS การดำเนินงาน ต่อเนื่องในระบบ GFMIS โดย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - สั่ง Post บัญชี - Run Payment - อื่น ๆ ดำเนินการ ตามระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง - ระเบียบเดิม - ระเบียบใหม่ Report Slip หลักฐานเกี่ยวกับ Master Data รายงานต่าง ๆ จากระบบ GFMIS หลักฐานจาก ระบบ GFMIS หลักฐานจาก ระบบ GFMIS หลักฐานเกี่ยวกับ Transactions หลักฐาน ตามระเบียบ สำหรับหน่วยงานกลาง ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ เชื่อมโยงการตรวจสอบในแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน รวมทั้งยืนยันข้อมูลกับหน่วยงาน/บุคคล ที่เกี่ยวข้องภายนอก เช่น เจ้าหนี้ ธนาคาร และอื่น ๆ เป็นต้น

  43. สรุป การบริหารการคลัง ของส่วนราชการ

  44. สรุปการบริหารการคลังในส่วนที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการสรุปการบริหารการคลังในส่วนที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ รัฐบาล ส่วนราชการ กรอบวงเงิน เงินในงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ 2 กฎหมาย/ระเบียบ เกี่ยวกับงบประมาณและการคลัง เงินคงคลัง เงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์กรม ยุทธศาสตร์กระทรวง ยุทธศาสตร์รัฐบาล 3 1.วินัยการคลัง 2.ความคุ้มค่า 3.ประโยชน์ของประชาชน

  45. ดุลยภาพการบริหารการคลังดุลยภาพการบริหารการคลัง หน่วยงานกลาง ส่วนราชการ วินัยการคลัง ความคุ้มค่า ประโยชน์ของประชาชน External Control

  46. จาก External Control สู่Internal Control External Control Internal Control

  47. Internal Control การบริหารความเสี่ยง ของส่วนราชการ ระบบควบคุมภายใน ทางด้านการเงินและบัญชี ของส่วนราชการ การตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ ระบบการกำกับดูแลและควบคุมตนเองที่ดี

  48. ความรับผิดทางแพ่ง ความเสียหายเกิดจาก การทำงานด้านการเงิน และที่มิใช่การเงิน ของส่วนราชการ

  49. G กรอบกฎหมายและระเบียบการลัง ความ (External Control) F รับผิด M กรอบการกำกับดูแลและควบคุมตนเอง (Internal Control) I ทาง เอกสาร/หลักฐานทางการเงิน บันทึกบัญชี รายงานการเงิน S แพ่ง

More Related