90 likes | 201 Views
ข้อมูล กศน. ตำบล. ภาพรวมทั่วประเทศ ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,401 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคใต้ - มีตำบลทั้งหมด 1,083 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 1 ,079 แห่ง. คู่มือการปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน. ตำบล.
E N D
ข้อมูล กศน.ตำบล ภาพรวมทั่วประเทศ ประกาศจัดตั้งแล้วทั้งหมด 7,401 แห่ง จากเป้าหมาย ทั้งหมด 7,409 แห่ง ภาพรวมของ ภาคใต้ - มีตำบลทั้งหมด 1,083 แห่ง - ประกาศจัดตั้งแล้ว 1,079 แห่ง
คู่มือการปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล สำนักงาน กศน.ได้จัดการพิมพ์ คู่มือปฏิบัติงาน หัวหน้า กศน.ตำบล เสร็จแล้ว และได้จัดส่งให้ สำนักงาน กศน.จังหวัด และสถานศึกษาขึ้นตรงทุกแห่ง เมื่อวันที่ 3 ก.พ. 54 ให้สำนักงาน กศน.จำหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขตได้ทำการประชุมชี้แจง หัวหน้า กศน.ตำบล และผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการให้ชัดเจน เพื่อนำสู่การปฏิบัติ ให้สำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และกศน.อำเภอ/เขต ให้การสนับสนุนและกำกับติดตาม การดำเนินงาน กศน.ตำบล อย่างใกล้ชิด
ร่างมาตรฐาน กศน.ตำบล ปี 2554 สำนักงาน กศน.
มาตรฐาน กศน.ตำบลประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ • ด้านการบริหารจัดการ • ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ด้านการมีส่วนร่วม • ด้านการนิเทศติดตามและ รายงานผล
ด้านการบริหารจัดการมี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ • อาคาร สภาพเหมาะสม มั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ • สื่อ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ • การบริหารงบประมาณ • บุคลากร ปฏิบัติงานครอบคลุมตามภารกิจที่กำหนด
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ • เป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสารของชุมชน(Information Center) • เป็นศูนย์สร้างโอกาสการเรียนรู้(Opportunity Center) • เป็นศูนย์การเรียนชุมชน(Learning Center) • เป็นศูนย์ชุมชน(Community Center)
ด้านการมีส่วนร่วมมี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ • ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม กศน. ตำบล • มีการเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ในตำบล และต่างตำบล • ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการดำเนินงาน กศน.ตำบล
ด้านการนิเทศติดตามและรายงานผลมี 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ • การนิเทศติดตามผล • การรายงานผล และการสรุปผล
เกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ในแต่ละด้านจะมีเกณฑ์การพิจารณาตามลักษณะของกิจกรรมเกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ในแต่ละด้านจะมีเกณฑ์การพิจารณาตามลักษณะของกิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินจะมี 5 ระดับ ได้แก่1 ต้องปรับปรุง2 ควรปรับปรุง3 พอใช้4 ดี5 ดีมาก