150 likes | 477 Views
ทีมสหวิชาชีพกับ ความรุนแรงในครอบครัว. รองศาสตราจารย์บุญเสริม หุตะแพทย์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. โปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของท่าน. ท่านได้ทำงานเกี่ยวกับความรุนแรงต่อเด็กและสตรี และความรุนแรงในครอบครัวมาแล้วเป็นเวลา.................ปี..............เดือน
E N D
ทีมสหวิชาชีพกับ ความรุนแรงในครอบครัว รองศาสตราจารย์บุญเสริม หุตะแพทย์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
โปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของท่านโปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของท่าน • ท่านได้ทำงานเกี่ยวกับความรุนแรงต่อเด็กและสตรี และความรุนแรงในครอบครัวมาแล้วเป็นเวลา.................ปี..............เดือน • ท่านเคยได้รับแจ้งเหตุความรุนแรงในครอบครัวแล้วหรือไม่ • เคย จำนวน .................ราย • ไม่เคย • ท่านเคยทำคดีความรุนแรงในครอบครัวแล้วหรือไม่ • เคย จำนวน .................คดี • ไม่เคย • ท่านมีความเห็นต่อพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 อย่างไร • ชอบ โปรดระบุส่วนที่ชอบ ......................................................................................................... • ไม่ชอบ เพราะ ............................................................................................................................ • ท่านรู้สึกอย่างไรต่อการทำงานเกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัวตามบทบาทของตนเอง • ชอบ โปรดระบุส่วนที่ชอบ ......................................................................................................... • ไม่ชอบ เพราะ ............................................................................................................................
นิยาม ทีมสหวิชาชีพ • กลุ่มบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรม มีความรู้ มีทักษะ ความสามารถเฉพาะด้านที่แตกต่างกันมาทำงานร่วมกัน • มุ่งแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและกระบวนการ บนพื้นฐานของวัตถุประสงค์และเป้าหมายเดียวกัน • มีการสื่อสารกันอย่างต่อเนื่องในการประเมินสภาพการณ์ของปัญหา • ร่วมรับผิดชอบตั้งแต่ต้นจนจบ
องค์ประกอบของทีมสหวิชาชีพองค์ประกอบของทีมสหวิชาชีพ
รูปแบบการทำงานของทีมสหวิชาชีพรูปแบบการทำงานของทีมสหวิชาชีพ
บทบาทของทีมสหวิชาชีพ รักษาพยาบาล เก็บวัตถุพยาน ประสาน ส่งต่อ ดำเนินคดี ให้คำปรึกษา ลงบันทึกประจำวัน ช่วยเหลือด้านกฎหมาย ประสาน ส่งต่อ ที่พัก/อาหาร/เด็ก ประสาน ส่งต่อ ประสาน ส่งต่อ แนะนำ ปรึกษา
สัมมนากลุ่มย่อย • ประสบการณ์การปฏิบัติงานประสานส่งต่อในการบริการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว • ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานบริการให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 แก้ไขปัญหาได้จริงหรือไม่ เพราะเหตุใด • ความเห็นต่อบทบาทของทีมสหวิชาชีพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว • ข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวโดยใช้กลไกทีมสหวิชาชีพ
หลักการใช้กฎหมายในการปฏิบัติงานของทีมสหวิชาชีพหลักการใช้กฎหมายในการปฏิบัติงานของทีมสหวิชาชีพ แยกผู้เสียหายมาคุ้มครอง ร่วมคุ้มครองผู้เสียหาย เหตุแห่งคดี องค์ประกอบร่วม สภาพแวดล้อม มาตรการทางกฎหมาย มาตรการทางการแพทย์ มาตรการทางสังคมสงเคราะห์
ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงขั้นตอนการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรง ระดับโรงพยาบาล กรณีเด็ก รายงานข้อเท็จจริงตาม พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 กรณีเป็นบุคคลในครอบครัว รายงานข้อเท็จจริงตาม พรบ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550
การประเมินปัญหาและความต้องการผู้ถูกกระทำการประเมินปัญหาและความต้องการผู้ถูกกระทำ ศูนย์พึ่งได้-OSCC ประชุมทีมสหวิชาชีพ
ทีมสหวิชาชีพประเมินความเสี่ยงทีมสหวิชาชีพประเมินความเสี่ยง เสี่ยง ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกร่วมให้ความช่วยเหลือ/สงเคราะห์/แจ้งศูนย์ปฏิบัติการ ไม่พร้อม
แผนผังการป้องกันและแก้ไขปัญหาระดับชุมชนและทีมสหวิชาชีพแผนผังการป้องกันและแก้ไขปัญหาระดับชุมชนและทีมสหวิชาชีพ อบต./อสม. ศูนย์ปฏิบัติการ ตาม พรบ. สาธารณสุข สวัสดิการ อพม.ศพค. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำสตรี ฯลฯ กระบวนการยุติธรรม การศึกษา
กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างแกนนำชุมชน เครือข่าย และทีมสหวิชาชีพ เฝ้าระวังและป้องกันความรุนแรง ประสบเหตุ แจ้งเหตุ ประเมินสถานการณ์/ความเสี่ยงในเบื้องต้น ประสานส่งต่อ ให้ความคุ้มครอง จัดบริการให้ความช่วยเหลือ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ คืนสู่สังคม