1.18k likes | 1.56k Views
การจัดการความรู้. ( Knowledge Management). มณี สุขประเสริฐ สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค วันที่ 30 มิ.ย.51 ณ.โรงแรมที.เค.พาเลซ ถ.แจ้งวัฒนะ กทม. จัดโดยสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. เนื้อหา. 1. เหตุผลของการทำ KM 2. แนวคิด/หลักการของ KM 3. รูปแบบของ KM ในประเทศไทย
E N D
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) มณี สุขประเสริฐ สำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค วันที่ 30 มิ.ย.51 ณ.โรงแรมที.เค.พาเลซ ถ.แจ้งวัฒนะ กทม. จัดโดยสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
เนื้อหา 1. เหตุผลของการทำKM 2. แนวคิด/หลักการของKM 3. รูปแบบของ KMในประเทศไทย 4. ชุมชนนักปฏิบัติ(CoPs) /การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 4. ตัวอย่าง KMและการประยุกต์ใช้ KM
ความคาดหวังของวิทยากรความคาดหวังของวิทยากร 1. ผู้เข้าประชุมเข้าใจแนวคิด/หลักการของKM 2. ผู้เข้าประชุมมีทัศนคติที่ดีต่อ KM 3. ผู้เข้าประชุมมีความตั้งใจจะกลับไปประยุกต์ใช้ KM ในชีวิตและงาน
สภาพแวดล้อม(นอกองค์กร)ที่พวกเราต้องเผชิญใน...วันนี้สภาพแวดล้อม(นอกองค์กร)ที่พวกเราต้องเผชิญใน...วันนี้ • การเมือง • นโยบาย(ใหม่) • ปัญหาเศรษฐกิจ • ฯลฯ รัฐบาล สถานการณ์สังคม • วัยรุ่นมีปัญหาฯ /รับน้องโหด • ปัญหาอาชญากรรม • ฯลฯ สถานการณ์โลก • ราคาน้ำมัน • สิทธิบัตรยา • ผู้ก่อการร้าย สถานการณ์ของชุมชน • โรคระบาด/ปัจจัยเสี่ยงมากขึ้น • พรบ.สุขภาพ • - กระจายอำนาจ • ฯลฯ • เด็กติดยา • เล่นหวย • - ปัญหาหนี้สินของครัวเรือนฯลฯ สถานการณ์ กระทรวงสธ.
สภาพแวดล้อม(ในองค์กร) • ประชุม/อบรม • เยอะมาก แต่..นำมาใช้ไม่ถูก !! • ความรู้หายไปจากหน่วยงาน เมื่อ...ผู้เชี่ยวชาญเกษียณ/ลาออกจากองค์กร -เครื่องมือการทำงานมาก แต่..บูรณาการไม่ได้(แยกส่วนทำ) • งานในยุคปัจจุบันต้องการความมีประสิทธิภาพรวดเร็ว แต่...เราไม่สามารถต่อยอดงานเดิมได้ • (เริ่มใหม่ทุกเรื่อง!) • เปลี่ยนหัวหน้า • เปลี่ยนระบบงาน • แต่..ไม่มีคู่มือการปฏิบัติงาน • งานขาดประสิทธิภาพ ผิดซ้ำๆในเรื่องเดิมๆ • งานน่าเบื่อ ทำเหมือนเดิมทุกวัน • งานมาก • KPIมาก แต่..คนทำงานเหนื่อยล้า/ท้อฯลฯ
แก้ปัญหาได้ด้วย... • การจัดการความรู้ ??
ทำไมต้องจัดการความรู้ ?1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 หมวด3 มาตรา 11 ได้กำหนดว่า :ส่วนราชการมีหน้าที่ พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสม ต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริม และพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน...
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (2550 – 2554) ยุทธศาสตร์ที่1 : การสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดระบบสุขภาพ “ระบบสุขภาพพอเพียง” สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 2:การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งสุขภาวะ ยุทธศาสตร์ที่ 4:การสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อลดผลกระบบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ร่วมกัน” ยุทธศาสตร์ที่ 3: การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข ยุทธศาสตร์ที่ 5: การสร้างทางเลือกเพื่อสุขภาพที่หลากหลาย&การแพทย์แผนไทย ยุทธศาสตร์ที่ 6: การสร้างระบบสุขภาพที่ยั่งยืนด้วยการจัดการความรู้ แนวคิดหลัก : ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาการของทฤษฎีการจัดการ (เครื่องมือ)
เป้าหมายองค์กร (GOAL) เส้นทางคือเครื่องมือ (Mean) ต่างๆ
เป้าหมายของ KM 1. “พัฒนางาน” ให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์/งานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2. “พัฒนาคน” คือพัฒนาทักษะผู้ปฏิบัติงาน 3. “พัฒนานวัตกรรม” คือรูปแบบใหม่ๆในการป้องกันควบคุมโรค / แนวทางใหม่ๆ ในการทำงาน 4. พัฒนา “คลังความรู้”ด้านต่างๆ ขององค์กร เพื่อให้มีศักยภาพในการทำงาน ต่อสู้ปัญหาในภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของอนาคต
นิยาม ความรู้ ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ หรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ องค์วิชาในแต่ละสาขา (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒)
ปัญญา ความรู้ สารสนเทศ ข้อมูล ลำดับชั้นของความรู้ สร้างทฤษฎี / ความรู้ใหม่/แนวทางใหม่ๆในการทำงาน ตรวจสอบ ใช่ความรู้ถูกต้องหรือไม่ นำไปใช้ประโยชน์ ระวังความน่าเชื่อถือคนวิเคราะห์ วิเคราะห์แล้ว (สถิติ / ตัวแปร / แนวโน้ม) ระวังข้อมูลผิด!! ข้อมูลดิบ
ประเภทของความรู้ 1. ความรู้ชัดเจน (Explicit Knowledge) - ตำรา / เอกสาร / คู่มือ / File ข้อมูลต่างๆ (ถ่ายทอดง่าย) 2. ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) = คนรู้จริง - อยู่ในตัวคน (ถ่ายทอดยาก มักได้จากการปฏิบัติงาน)
- สร้างบรรยากาศการถ่ายทอด - CoPs / ชมรมต่างๆ อธิบายได้..แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก : จัดทำคู่มือ / มาตรฐานงาน/บันทึกข้อมูลหรือเหตุการณ์ต่างๆ - ถอดรหัสความรู้ - ถ่ายภาพ / สารคดี -ระบบพี่เลี้ยง -สะสมกรณีศึกษา
KM วันนี้ Explicit Knowledge + Tacit Knowledge - ทฤษฎี - หลักวิชา - สังเคราะห์ วิจัยใช้สมอง (Intellectual) - เป็นกฎเกณฑ์มาตรฐานขั้นตอนผ่านการพิสูจน์ - ปฏิบัติ / ประสบการณ์ - ภูมิปัญญา / เคล็ดวิชา - วิจารณญาณ ใช้ปฏิภาณ (Intelligent) - เป็นเทคนิคเฉพาะตัวเป็นลูกเล่นเฉพาะคน
การถ่ายทอดความรู้ (Knowledge Sharing)
เข้าถึง / ตรวจสอบ สร้าง / ยกระดับ (ใหม่) รวบรวม จัดเก็บ ปรับใช้ เรียนรู้ ร่วมกัน เรียนรู้ / ยกระดับ (ใหม่) มีใจ / แบ่งปัน แนะนำ แนวคิดเรื่อง KM Explicit Knowledge Tacit Knowledge เน้น “2P” Process & People เน้น “2T” Tool & Technology ** ประยุกต์จากแนวคิด ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด (สคส.)
แต่ต้องสมดุล / เสริมกัน เน้น “2T” Tool & Technology เน้น “2P” Process & People
??? การจัดการความรู้คืออะไร??
การจัดการความรู้คืออะไร ? (ตาบอดคลำช้าง!!)
ความหมาย KM หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ทั้งใน / นอกองค์กร ซึ่งอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรืออยู่ในตัวบุคคล มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนเข้าถึงความรู้ และนำมาพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้รู้ (เชี่ยวชาญ) รวมทั้งเพื่อปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ที่มา :จากสำนักงานก.พ.ร.
การจัดการความรู้ คือ...การทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายโดยใช้ความรู้ ปฏิบัติจริงโดยประยุกต์ ให้เหมาะสมกับบริบท การจัดการ แหล่งความรู้ • ตำรา (Explicit) • คน (Tacit) ถอดบทเรียน “ชีวิต”และ“งาน” “การทำให้เป้าหมายของเรา / กลุ่ม / องค์กรสำเร็จ โดยใช้กระบวนการ ได้มา ของ ความรู้ และการใช้ความรู้” • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • การจัดทำคลังความรู้ • การหมุนเกลียว ยกระดับความรู้ • เรียนรู้ ก่อน-ระหว่าง-สิ้นสุดโครงการ
รูปแบบ KM ในประเทศไทย กพร. : KMเชิงองค์กร • โยงยุทธศาสตร์ • กำหนดความรู้ • จัดทำแผน / กำหนด KPI • สร้าง / กลั่นกรองความรู้ • จัดทำระบบให้เข้าถึง • (ภาคราชการ) สคส. : KM กลุ่ม/เครือข่าย • แลกเปลี่ยน Tacit • สร้าง CoPs • พัฒนา “คุณอำนวย” • เน้นเครือข่าย • (ภาคราชการ) สรส.:KM ปัจเจก / ใจ • สร้างแรงบันดาลใจ / เน้นใจ • การถอดบทเรียนก่อน – ระหว่าง -หลังทำงาน • ออกแบบการเรียนรู้ตามกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนา “คุณอำนวย” “คุณลิขิต” • (ชุมชน) พันธกิจ/วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กรม คร. KM Strategies KM Focus Areas Desired State of KM Action Plans (6-step model) องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) จะต้องมี KM ทั้งสามวง ที่มา ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
3 • ความรู้ที่สำคัญต่อองค์กร • ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า • ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ • ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม • ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ • ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการ • ความรู้ที่มีอยู่ในบุคลากร • ฯ ล ฯ พันธกิจ/วิสัยทัศน์ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ ปัญหา 1 กลยุทธ์ กระบวนงาน (Work process) หัวข้อความรู้ (ขอบเขต KM) KM Action Plans ( 6-step model) (เป้าหมาย KM) Desired State of KM Focus Areas (แผนการจัดการความรู้) 4 ส่วนสำเร็จในอดีต
แนวทางการกำหนดขอบเขต หัวข้อความรู้ 1.ความรู้ที่จำเป็นต่อพันธกิจ/วิสัยทัศน์/ประเด็นยุทธศาสตร์ในระดับของหน่วยงานตนเอง 2.ความรู้ที่เป็น - ความสามารถหลักขององค์กร(Core knowledge) - ความรู้ทำให้องค์กรเป็นผู้นำ (Innovation) 3.ปัญหาที่เผชิญอยู่(ความเสี่ยง) - กระบวนการหลักในการทำงาน - กระบวนการสนับสนุน - ระบบที่เป็นความเสี่ยง 4.ความรู้ที่เป็นความสำเร็จขององค์กร
กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) 7 ขั้นตอน + + การจัดการความรู้ KM (ตามแนวทาง ก.พ.ร.) กระบวนการบริหารจัดการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)6 ขั้นตอน
กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) คือ กระบวนงาน และขั้นตอนของการจัดการความรู้ในองค์กร มี 7 ขั้นตอน
กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) 1. การบ่งชี้ความรู้ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 7. การเรียนรู้
กระบวนการจัดการความรู้กระบวนการจัดการความรู้ ∞ ต้องการแก้ปัญหาการทำงาน ∞ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์องค์กร ∞ สร้างคลังความรู้ด้านต่างๆ เป้าหมาย KM 1. การบ่งชี้ความรู้ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ต้องใช้ความรู้เรื่องอะไรบ้าง องค์กรเรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้นั้นอยู่ไหน (Explicit) ความรู้นั้นอยู่ที่ใคร (Tacit) จะเก็บรวบรวมอย่างไร
กระบวนการจัดการความรู้ (ต่อ) คัดเลือกความรู้เฉพาะที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ (ความรู้เก่าคัดออกด้วย) จะแบ่งประเภท / หัวข้อความรู้นั้น อย่างไร(ยึดผู้ใช้) ทำเนื้อหาเข้าใจง่ายถูกต้อง ทันเหตุการณ์ 3. จัดความรู้ ให้เป็นระบบ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ (ต่อ) สามารถเข้าถึงความรู้ สะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ มีการแบ่งปันความรู้ในรูปแบบหรือเทคนิคหลากหลาย ทั้ง Explicit + Tacit Knowledge เช่น CoPs/บันทึกเรื่องเล่า/VDO/ภาพ/เสียง/websiteฯลฯ 5. การเข้าถึงความรู้ 6. การแลกเปลี่ยนความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ (ต่อ) นำความรู้ไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาคน / พัฒนางาน / แก้ปัญหาสำคัญขององค์กร 7. การเรียนรู้
การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurements) เป้าหมายKM (Desired State) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior กระบวนการ และเครื่องมือ (Process & Tools) การสื่อสาร (Communication) Robert Osterhoff กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)
กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง คือ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้าน “การเรียนรู้” ให้ทุกคนมี “นิสัยใฝ่เรียนรู้” พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
ผล : พัฒนาคน / พัฒนางาน / สร้างความรู้ใหม่ / องค์กรบรรลุเป้าหมาย องค์กรบรรลุเป้าหมาย LO สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน KM ลำต้น: กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) 7ขั้นตอน ราก : กระบวนการบริหารจัดการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) 6 ขั้นตอน
รูปแบบ KM ในประเทศไทย กพร. : KMเชิงองค์กร • โยงยุทธศาสตร์ • กำหนดความรู้ • จัดทำแผน / กำหนด KPI • สร้าง / กลั่นกรองความรู้ • จัดทำระบบให้เข้าถึง • (ภาคราชการ) สคส. : KM กลุ่ม/เครือข่าย • แลกเปลี่ยน Tacit • สร้าง CoPs • พัฒนา “คุณอำนวย” • เน้นเครือข่าย • (ภาคราชการ) สรส.:KM ปัจเจก / ใจ • สร้างแรงบันดาลใจ / เน้นใจ • การถอดบทเรียนก่อน – ระหว่าง -หลังทำงาน • ออกแบบการเรียนรู้ตามกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนา “คุณอำนวย” “คุณลิขิต” • (ชุมชน) พันธกิจ/วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กรม คร. KM Strategies KM Focus Areas Desired State of KM Action Plans (6-step model) องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) จะต้องมี KM ทั้งสามวง ที่มา ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
Model การจัดการความรู้ตามแนวคิด สคส. “หางปลา” คือสร้างคลังความรู้ เชื่อมโยง เครือข่าย ใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงง่าย คือ คุณกิจ (นักวิชาการกลุ่มโรค) หัวและตา: กำหนดเป้าหมายทิศทางKM ต้องตอบให้ได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” CKO KA KV KS “กลางลำตัว” เป็นหัวใจสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ คุณอำนวย (คณะทำงานKM / ส.ว.)
CKO คุณกิจ คุณอำนวย Model การจัดการความรู้ตามแนวคิด สคส. - ร่วมกำหนดหัวปลา (KV) - ค้นหาคุณอำนวยที่ “หน่วยก้านดี” - จัดบรรยากาศให้เอื้อการเรียนรู้ - สนับสนุนทรัพยากร - ติดตามความเคลื่อนไหว / ชื่นชมยกย่อง - สังเคราะห์ / ตรวจสอบความรู้ หรือยิงคำถามให้ “ฉุกคิด” - มีทักษะการฟัง / การพูด / สังเกต คิดเชิงบวก – ชอบนำความรู้ / วิธีการใหม่ไปทดลองใช้ - มีทักษะการประเมิน - มีทักษะการจดบันทึก “ขุมความรู้” ทักษะที่ควรมี - คอมพิวเตอร์ - ประสาน/ มนุษยสัมพันธ์ดี - ทักษะด้านภาษา / จดบันทึก - สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ - จุดประกายความคิด / สร้างความกระตือรือร้น - เป็นวิทยากรกระบวนการ/ ประสานเชื่อมโยง - บันทึกขุมความรู้ / มีทักษะจับประเด็น - ส่งเสริมคุณกิจให้ทำงานเพื่อบรรลุหัวปลา - สร้างพื้นที่ / เวทีการแลกเปลี่ยนความรู้
คำศัพท์ที่เกี่ยวกับความรู้คำศัพท์ที่เกี่ยวกับความรู้ KV: กำหนดเป้าหมาย / ประเด็น / เรื่อง : ค้นหา รวบรวม ข้อมูลความรู้ KS: แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ถอดองค์ความรู้ KA: สร้างระบบจัดเก็บ / การเข้าถึงความรู้ : สร้างบรรยากาศ / วัฒนธรรมการเรียนรู้
ตัวอย่างขอบเขต/เป้าหมายKM(หัวปลา)ของกรมการส่งเสริมการเกษตรตัวอย่างขอบเขต/เป้าหมายKM(หัวปลา)ของกรมการส่งเสริมการเกษตร ขอบเขต:พัฒนาขีดความสามารถในการส่งเสริมเกษตรกรให้มีอาชีพที่มั่นคงและพึ่งตนเองได้ เป้าหมาย KM: 1. การศึกษาพื้นที่และชุมชน 2. การทำงานกับชุมชน 3. การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร 5. การพัฒนากลุ่ม / องค์กรและเครือข่ายเกษตรกร 6. ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตการเกษตร 7. สารสนเทศเพื่อเกษตรกร
การเรียนรู้ในการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐานการเรียนรู้ในการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน เจ้าหน้าที่ส่วนกลาง เจ้าหน้าที่จังหวัด เกษตรกร เป้าหมาย การเรียนรู้ของ เกษตรกร เจ้าหน้าที่ ส่วนกลาง ที่เกี่ยวข้อง การเรียนรู้ของ จนท. ภายในจังหวัด (เวที DM, DW หรือช่องทางอื่น) เกษตรกรมีการ ผลิตสินค้าเกษตร ที่ปลอดภัย / ได้มาตรฐาน 1. สร้างทีมแกนนำในการบริหารเชื่อมโยงเครือข่ายในการจัดการความรู้ 2. วิเคราะห์ความรู้ที่ต้องใช้ในการส่งเสริม 3. สืบค้น/สร้างองค์ความรู้ที่ต้องใช้ในการส่งเสริม 4. สร้างช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ทีมงานระดับพื้นที่ 5. สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมระดับพื้นที่ 1. สร้างทีมในระดับจังหวัด / อำเภอ 2. เรียนรู้ตัวเองเพื่อให้รู้ถึงความพร้อมในด้านความรู้ที่ต้องใช้ในการส่งเสริม 3. กำหนดเป้าหมายในการทำงานส่งเสริม 4. กำหนดแผนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร 5. ดำเนินการตามแผนการเรียนรู้ 6. สร้างองค์ความรู้ในการทำงาน 1. สร้างทีม (กลุ่มเรียนรู้ 25-30 คน/กลุ่ม) 2. กลุ่มเรียนรู้ตัวเองในด้านการผลิตและวิเคราะห์ขั้นตอนการผลิตที่สำคัญที่มีผลต่อความปลอดภัย/ คุณภาพ 3. กลุ่มกำหนดเป้าหมายการพัฒนาสินค้าเกษตรในด้านความปลอดภัย / คุณภาพตามมาตรฐาน/ข้อกำหนดของคู่ค้า 4. กลุ่มกำหนดแผนการเรียนรู้ (แผนการดำเนินงานของกลุ่ม) 5. ดำเนินการตามแผนการเรียนรู้สร้างองค์ความรู้ของกลุ่ม
ตัวอย่างขอบเขต/เป้าหมายKM(หัวปลา)ของ ร.พ. ขอบเขต:เพื่อพัฒนาคุณภาพและได้รับการรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล (HA) เป้าหมาย KM: 1. การดูแลผู้ป่วย 2. ทบทวนข้อร้องเรียนผู้รับบริการ 3. การส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา 4. ทบทวนการตรวจรักษา 5. การค้นหาป้องกันความเสี่ยง 6. เฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. เฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 8. การดูแลผู้ป่วยเหตุการณ์สำคัญ 9. ความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 10.การใช้ข้อมูลวิชาการ
ขุมความรู้ (KA) เรื่อง...ที่มีบริบท รายละเอียดตามเหตุการณ์ขณะนั้น Explicit Knowledge ประเด็นหลักการ Tacit Knowledge เรื่องเล่า & คำพูด ยกตัวอย่างของจริงในพื้นที่ • แหล่งข้อมูล / บุคคล • เอกสารวิจัย • VDO • (ภาพ/เสียง/เอกสาร) ** ประยุกต์จากแนวคิด ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด (สคส.)
คลังความรู้ที่ดี (KA)ต้องมีทั้ง Explicit + Tacit
KA ความปลอดภัยด้านสารเคมี