250 likes | 347 Views
โอกาสและผลกระทบ ของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อภาคอุตสาหกรรมประมง. นายไพบูลย์ พลสุวรรณา ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย 22 เมษายน 2556. World Trade. Source: www.aseansec.org. World Trade. Source: www.aseansec.org. กลุ่ม การค้า ที่สำคัญของโลก. EU. NAFTA. ASEAN.
E N D
โอกาสและผลกระทบของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อภาคอุตสาหกรรมประมงโอกาสและผลกระทบของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อภาคอุตสาหกรรมประมง นายไพบูลย์ พลสุวรรณา ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย 22 เมษายน 2556
World Trade Source: www.aseansec.org
World Trade Source: www.aseansec.org
กลุ่มการค้าที่สำคัญของโลกกลุ่มการค้าที่สำคัญของโลก EU NAFTA ASEAN
ที่มา: ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี
ASEAN Economic Community (AEC) AECหรือการรวมกลุ่มทางสังคมเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกภายในภูมิภาคอาเซียนให้เป็นตลาดเดียวกัน เพื่อเป็นฐานในการจัดสรรทรัพยากรร่วมกัน และรวมพลังกันแข่งขันกับตลาดโลก นอกจากจะช่วยเสริมสร้างความสามารถของประเทศภายในกลุ่มแล้ว ยังเป็นการเปิดโอกาสทางด้านการค้าและการลงทุนภายในภูมิภาคให้กว้างขวางขึ้น AEC เป็นตลาดเดียวและ ฐานการผลิตเดียว ลักษณะ วัตถุประสงค์ การไหลเวียนอย่างอิสระของ สินค้าบริการ การลงทุน และแรงงานฝีมือ เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพ เพิ่มความสามารถด้านการแข่งขัน ให้แก่กลุ่มประเทศอาเซียน ตามแผน Bali Concord II การไหลเวียนอย่างอิสระ ของเงินทุน
Export Performance Index: Prepared or preserved fish, crustaceans, mollusks in airtight containers
Key Markets for Thai Fishery Product Source: www.moc.go.th Value in Million USD
Key Markets for Frozen Shrimp Source: www.moc.go.th Value in Million USD
Key Markets for Prepared or preserved fish, crustaceans, mollusks in airtight containers Source: www.moc.go.th Value in Million USD
โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทยปี 2555 Source: www.moc.go.th Value in Million USD
Today and Tomorrow:Food& Beverage Industry 2010 2020 2015 Mega Trend Economic rebound continues Globalization& Changing Economics Rising food prices/ demand for bioenergy Full industrialization of developing countries Increasing consolidation within food processing Continuous re-assessment of “safe”chemicals and materials for F&B and agri products Increasing urbanization impacts the demand for health& wellness solutions Health& Wellness Increased use of health Claims The adoption of Safety& Sustainability Strategies will be common- place as opposed to being the exception Food Safety& Sustainability Customers increasingly gain access to F&B processing information China begins to shake off food ingredient safety concerns Source: Frost& Sullivan
Advantage of The Food& Beverage Industry in Thailand • สินค้ามีคุณภาพดีและน่าเชื่อถือในตลาดโลก • กระบวนการผลิตได้มาตรฐานสากล • มีการบริหารจัดการโซ่อุปทานได้ดีกว่าคู่แข่ง • ต้นทุนการผลิตสูง จากทั้งวัตถุดิบและแรงงาน • การกีดกันทางการค้าและการตัดสิทธิประโยชน์ทางการค้าจากประเทศคู่ค้าหลัก
การเกษตรกับภาวะโลกร้อนการเกษตรกับภาวะโลกร้อน ข้อมูลจากวิทยานิพนธ์เรื่อง “การศึกษาการแพร่กระจายก๊าซมีเทนในนาข้าวจากดัชนีพืชพรรณโดยประยุกต์ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-5 TM กรณีศึกษา อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
Factors Affected to Food Industries • Raw Material Shortage • Flood etc. • Disease such as FMD etc. • Labor Constraints • Minimum Wage 300 Baht • Labor Shortage • Lack of in primary industries. • Myanmar economics growth rapidly. • Forced and Child Labors • Bad Logistics & Supply Chain Performance • Green Consumerism & Carbon Footprint
ประเทศไทยควรทำอย่างไร .... สนับสนุนการสร้างตราสินค้าในตลาดระดับบน ด้วยจุดเด่นด้านคุณภาพของอาหารไทย เพื่อสร้างความแตกต่างและการยอมรับสินค้าในตลาดเป้าหมาย ให้ความสำคัญกับการสร้างวัฒนธรรมอาหารไทยในต่างประเทศ เน้นการสร้างคุณค่าเพิ่มและมาตรฐานให้กับสินค้าเกษตร พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการโซ่อุปทานยุคใหม่ เพื่อลดต้นทุนสินค้า และรักษาคุณภาพของสินค้าได้นาน วิจัยและพัฒนา และนำแบบอย่างที่ดีในด้านเทคโนโลยีอาหารจากต่างประเทศมาเผยแพร่ให้กับผู้ประกอบการไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการผลิต รวมทั้งศึกษาและเรียนรู้ความต้องการของผู้บริโภคในตลาดเป้าหมาย พัฒนามาตรฐานรวมทั้งเข้ารับการรับรองมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการค้า
ประเทศไทยและอาเซียนในอุตสาหกรรมอาหารประเทศไทยและอาเซียนในอุตสาหกรรมอาหาร ขยายโอกาสทางการค้าในตลาดอาเซียน โดยการเป็นศูนย์กลางของการผลิตอาหาร ครัวไทยสู่ครัวโลก มีการเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพจากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยไทยทำหน้าที่ผลิตและส่งออก หน่วยงานภาครัฐของในต่างประเทศควรทำหน้าที่ในการจัดหาแหล่งวัตถุดิบสำหรับการผลิตในประเทศ ขณะที่ภาคเอกชนควรให้ความสำคัญกับการใช้ประโยชน์จากเขตการค้าเสรี และการจัดหาวัตถุดิบจากอาเซียน การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ภายในประเทศเพื่อลดการใช้พลังงานในกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งกระบวนการ และการพัฒนาเกษตรกรรายย่อยให้มีความรู้เพื่อลดความสูญเสียในการขนส่งวัตถุดิบ