1 / 40

การพัฒนาอุดมศึกษา ๒๕๕๒

การพัฒนาอุดมศึกษา ๒๕๕๒. ศ,ดร.ธรรมศักดิ์ พงศ์ พิชญามาตย์ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการอุดมศึกษา( กกอ. / สกอ. ). แนวคิดการสร้าง บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน. มาตรฐานอุดมศึกษา๒๕๔๘ กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ๒๕๕๒ (Thai Qualifications Framework TQF/HEd)

Download Presentation

การพัฒนาอุดมศึกษา ๒๕๕๒

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาอุดมศึกษา๒๕๕๒การพัฒนาอุดมศึกษา๒๕๕๒ ศ,ดร.ธรรมศักดิ์ พงศ์พิชญามาตย์ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการอุดมศึกษา(กกอ./ สกอ.)

  2. แนวคิดการสร้างบัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยั่งยืน • มาตรฐานอุดมศึกษา๒๕๔๘ • กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ๒๕๕๒ (Thai Qualifications Framework TQF/HEd) 3. การรับรองวิทยฐานะสถาบัน ? (National Accreditation System) *** มาตรฐานศึกษิต /Ed Person ๖ประการคือ ภาษาดี ประพฤติดี วิจารณญาน ใฝ่รู้ รสนิยม และการนำความรู้ไปปฏิบัติได้

  3. TQF/HedกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาTQF/Hedกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ๒ ก.ค.๒๕๕๒ เรื่องกรอบ.....*** 2. ประกาศคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ๑๖ ก.ค..๒๕๕๒ เรื่องแนวทาง.. ***ทุกมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาในราชอาณาจักรไทย ต้องปฏิบัติตามข้อ ๑

  4. TQF/HEd • ส่วนที่๑ สาระสำคัญ • ความหมาย หลักการ วัตถุประสงค์ โครงสร้าง ความสัมพันธ์ • คุณลักษณะบัณฑิต การทวนสอบ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • ส่วนที่๒ ขั้นตอนการปฏิบัติ • การพัฒนาระบบ การทำรายละเอียด หลักสูตรและรายวิชา การขออนุมัติ การเสนอ การรายงาน การประกัน การเผยแพร่ การกำกับ

  5. TQF/HEd ความหมาย แสดงระบบ... ระดับคุณวุฒิ... ความเชื่อมโยง... มาตรฐานการเรียน... ปริมาณการเรียน... การเรียนตลอดชีวิต ระบบ กลไก ความมั่นใจ ได้บัณฑิตคุณภาพ

  6. TQF/HEd • หลักการสำคัญ... • สอดคล้อง พ.ร.บ .๒๕๔๒ • มุ่งเน้นมาตรฐานการเรียน (Learning Outcomes) • รามกฎกติกาทั้งระบบ • สร้างการยอมรับทั้งระดับชาติและนานาชาติ

  7. TQF/HEd • วัตถุประสงค์...เพื่อ... • เป็นกลไก/เครื่องมือ... • กำหนดเป้าหมาย... • เชื่อมโยง... • สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ... • กรอบการสื่อสาร... • เทียบเคียง... • มีการกำกับ... • ลดขั้นตอน

  8. TQF/HEd • โครงสร้างและองค์ประกอบ... • ระดับคุณวุฒิ...*** ระดับ๑ อนุปริญญา๓ปี ระดับ๒ ปริญญาตรี ระดับ๓ ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับ๔ ปริญญาโท ระดับ๕ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับ๖ ปริญญาเอก ระดับ๗ (ปริญญาเอกชั้นสูง) ***ทุกระดับมี ต.ย.มาตรฐานคุณวุฒิทั้ง๕ด้าน

  9. TQF/HEd • โครงสร้างและองค์ประกอบ... 2. การเรียนรู้และมาตรฐานการเรียน..Domain of Learning...๕ด้าน • คุณธรรม/จริยธรรม • ความรู้ • ทักษะทางปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์...และความรับผิดชอบ • ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลข สื่อสารและ IT • (บางสาขามีทักษะพิสัย/Psychomotor Skill )

  10. TQF/HEd • มาตรฐานผลการเรียนรู้ขั้นต่ำ ๕ ด้าน เช่น ป.ตรี... • .ด้านคุณธรรม จริยธรรม • สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพโดยใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม ความรู้สึกของผู้อื่น • ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ • การแสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม • อาทิ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละเป็นแบบอย่างที่ดี และเข้าใจโลก เป็นต้น

  11. TQF/HEd • ด้านความรู้ • มีองค์ความรู้ในสาขาวิชาอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ • ตระหนัก รู้หลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง • สำหรับหลักสูตรวิชาชีพต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าของความรู้เฉพาะในสาขา และตระหนักถึงงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ • ส่วนหลักสูตรวิชาชีพที่เน้นการปฏิบัติ จะต้องตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์

  12. TQF/HEd • ด้านทักษะทางปัญญา • มีความเข้าใจในแนวคิด หลักการทฤษฎีที่สำคัญในวิชาที่ศึกษา • มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ความเข้าใจที่ลึกซึ้งในการวิเคราะห์ข้อโต้แย้งและปัญหาใหม่ๆในวิชาทีเรียนและในชีวิตประจำวัน • ตระหนักในประเด็นปัญหาสำคัญที่เกี่ยวข้องกับ • การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและการมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศอื่นๆ • สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้จากการศึกษาเล่าเรียนมาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาเหล่านั้น

  13. TQF/HEd • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • มีความรับผิดชอบในการเรียนและความประพฤติของตนเอง • สามารถที่จะริเริ่มและการพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาการและการพัฒนาลักษณะอื่นๆของตนเองได้โดยมีกาแนะนำบ้างเล็กน้อย • สามารถที่จะไว้วางในใจให้ทำงานได้อย่างอิสระและทำงานที่มอบหมายให้แล้วเสร็จโดยอาศัยการแนะนำปรึกษาแต่เพียงเล็กน้อย • สามารถทำงานกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อจุดหมายร่วมกัน

  14. TQF/HEd • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร • มีความสามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ตลอดจนใช้ทักษะทางคณิตสาสตร์ขั้นพื้นฐานในการแก้ใขปัญหาในการศึกษาและในการทำงาน และในสภาพแวดล้อมเชิงสังคม • สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพในการพูดและเขียน ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ

  15. TQF/HEd • หลักสูตรใหม่และปรับปรุงป.ตรี • ต้องใช้เกณฑ์นี้ • มาตรฐานแต่ละสาขาต้องมีการอนุมัติ • ขณะนี้มีหลักสูตรที่ผ่านแล้วเช่น • สาขาพยาบาล อก. แพทย์ วศ.คอม. ฯ • สาขาการเกษตรต้องทำ!

  16. TQF/HEd • ลักษณะหลักสูตรแต่ละระดับ • จำนวนหน่วยกิต • การกำหนดชื่อคุณวุฒิ/ปริญญา • การเทียบโอนความรู้ ***ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ที่มีและได้ประกาศเป็นกฎกระทรวง หรือประกาศต่างๆแล้ว

  17. TQF/HEd • ความสัมพันธ์ระหว่างคุณวุฒิ • อนุ ป. ๙๐ นก. * * * * * • ป.ตรี๔ ๕และ๖ปี ๑๒๐ ๑๕๐ และ๑๘๐ นก. 2* • ปกบ. ๒๔ นก. 3* • ป.โท ๓๖ นก. 4* • ปกบ.ชั้นสูง ๒๔ นก. 5* • ป.เอก ๔๘ นก. 6*

  18. TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ทุกระดับมีสองส่วน 1.1 มีความรู้อย่างน้อย ในระดับ 1.2 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์แต่ระดับ

  19. TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๑ มีความรู้ความสามารถอย่างน้อย ดังนี้ ๑.๑ความรู้ที่ครอบคลุมสอดคล้องและเป็นระบบในสาขาที่ศึกษาตลอดถึงความเข้าใจในทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง -๑.๒ความสามารถที่จะตรวจสอบปัญหาที่ซับซ้อนและพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์จากความเข้าใจที่ลึกซึ้งของตนเองและความรู้จากสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยคำแนะนำแต่เพียงเล็กน้อย

  20. TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๑ มีความรู้ความสามารถอย่างน้อย ดังนี้ (ต่อ)... ๑.๓ความสามารถในการค้นหา การใช้เทคนิคทางในและสถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ และแก้ปัญหาที่ซับซ้อน -ตลอดจนการเลือกใช้กลไกเหมาะสมในการสื่อผลการวิเคราะห์ต่อผู้รับข้อมูลข่าวสารกลุ่มต่างๆ - ๑.๔กรณีของหลักสูตรวิชาชีพสิ่งสำคัญคือความรู้และทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพในวิชาชีพนั้นๆ

  21. TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๑ มีความรู้ความสามารถอย่างน้อย ดังนี้ (ต่อ)... ๑.๕ ในกรณีของหลักสูตรที่ไม่มุ่งเน้นการปฏิบัติในวิชาชีพ สิ่งสำคัญคือ ความรู้ความเข้าในจอย่างลึกซึ้งในผลงานวิจัยต่างๆในสาขาวิชานั้นๆ ความสามารถในการแปลความหมาย การวิเคราะห์ และประเมินคงวามสำคัญของการวิจัยในการขยายองค์ความรู้ในสาขาวิชา

  22. TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๒ คุณลักษณะบัณฑิต ๒.๑มีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหา และข้อโต้แย้งทั้งในสถานกรณีส่วนบุคคลและของกลุ่ม โดยการแสดงออกซึ่งสภาวะผู้นำในการแสวงหาทางเลือกใหม่ที่เหมาะสมไปปฏิบัติได้ ๒.๒ สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฏีและระเบียบวิธีการศึกษาค้นคว้าในสาขาวิชาของตนเอง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและข้อโต้แย้งในสถานการณ์อื่นๆ

  23. TQF/HEd • คุณลักษณะของบัณทิตที่พึงประสงค์ในระดับ ป.ตรี ๒ คุณลักษณะบัณฑิต ๒.๓ สามารถพิจารณาแสวงหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการหรือวิชาชีพโดยยอมรับข้อจำกัดของธรรมชาติของความรู้ในสาขาวิชาของตน ๒.๔ มีส่วนร่วมในการติดตามพัฒนาการในศาสตร์ของตนให้ทันสมัย และเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจของตนเสมอ ๒.๕ มีจริยธรรมแลความรับผิดชอบสูงทั้งในบริบทวิชาการ ในวิชาชีพและชุมชนอย่างสม่ำเสมอ

  24. TQF/HEd • การทวนสอบมาตรฐาน • มีการสังเกต ตรวจสอบ ประเมิน สัมภาษณ์ เพื่อพิสูจน์สิ่งที่กำหนดในเป้หมาย • มีกลไกการตรวจสอบเช่นการดูคะแนนในกระดาษคำตอบ

  25. TQF/HEd • ปัจจัยสู่ความสำเร็จ • การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม • การแสวงหาความรู้ • การพัฒนาทักษะทางปัญญา • การพัฒนาทักษะความสำพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • การพัฒนาทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข สื่อสาร สารสนเทศ

  26. TQF/HEd • สถาบันที่จะจัดการเรียนการสอน • ต้องมีการรับรอง • หรือในอนาคตจะมีระบบ • การรับรองวิทยฐานะมารองรับ

  27. TQF/HEd • ระบบกลไกการประกันคุณภาพ • IQA • EQA

  28. TQF/Hedส่วนที่ ๒ ขั้นตอนการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ

  29. TQF/Hedส่วนที่ ๒

  30. TQF/Hedส่วนที่ ๒

  31. TQF/HEd

  32. TQF/HEd

  33. TQF/HEd

  34. TQF/HEd

  35. TQF/HEd

  36. TQF/HEd

  37. TQF/HEd

  38. TQF/HEd

  39. TQF/HEd

  40. TQF/HEd

More Related