230 likes | 366 Views
สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ. “ โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ”. พฤหัสบดี 5-07-55. พิภัช ดวงคำสวัสดิ์.
E N D
สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ “โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์” พฤหัสบดี 5-07-55 พิภัช ดวงคำสวัสดิ์ ติดต่อขอใบสมัครได้ที่ ชั้น 8 อาคาร 5 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Mobile Application Development Android and iOS
หัวข้อการการประชุม • ความเป็นมาและวัตุประสงค์ของโครงการ • พิธีลงนามความร่วมมือ • ปัญหาทรัพยากรบุคคลของซอฟต์แวร์ไทย • คุณสมบัติของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ • บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • บทบาทของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ฯ
ข้อมูลทรัพยากรบุคคลากรทคโนโลยีสารสนเทศข้อมูลทรัพยากรบุคคลากรทคโนโลยีสารสนเทศ • จำนวนบัณฑิตที่จบด้าน IT ระดับปริญญาตรีในแต่ละปี 5ถั่วเฉลี่ย 17,000-22,000 คน (ข้อมูล สกอ.) • กำลังคนที่ผลิตออกมาอีก 17,000 (90% ) ไปทำงานฝ่ายผู้ใช้ • เข้าทำงานใน SW Industry:เพียง 5,000 คน (10%) • ทำอย่างไรจะให้บุคลากรเข้าสู่ภาค อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์หรือ ICT ให้เต็ม • บริษัทซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย (สำรวจ 1,300 บริษัท มีบุคลากรรวมประมาณ 20 คนเท่านั้น • การแย่งชิงทรัพยากรบุคคลที่ขาดแคลน เป็นปัญหาที่สำคัญข้อหนึ่ง
โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากรโครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ปี 2555 สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตบุคลากรในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ให้กับประเทศไทย และเพิ่มงานให้กับบุคลากรทางด้าน IT • สร้างคนระดับผู้พัฒนา อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ให้ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดย SIPA และ มหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา เมื่อสิ้นสุดการอบรมจะบุคลากรเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมโดยทำงานในภูมิลำเนาเดิม
โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากรป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากรป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมบุคลากรด้านซอฟต์แวร์ได้ตรงกับความต้องการและเป้าหมายของภาคอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย • เพื่อขยายฐานตลาดแรงงานในภูมิภาคภายในประเทศให้กับภาคอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยอย่างมีคุณภาพ ซึ่งจะสร้างความเข้มแข็งให้กับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทยและเป็นการเตรียมความพร้อมสู่การแข่งขันในตลาดโลก • สร้างรายได้ให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรม และลดอัตราการว่างงานของบัณฑิตที่จบในสายวิชาชีพ ซอฟต์แวร์ และสายวิชาชีพอื่นที่มีความสนใจทางด้านซอฟต์แวร์
MOU วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน 2555 ณ ห้องบอร์ดรูม ชั้น 14 อาคาร 11 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีปทุม พิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ปัญหาทรัพยากรบุคคลของซอฟต์แวร์ไทยปัญหาทรัพยากรบุคคลของซอฟต์แวร์ไทย อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์จะเติบโตได้ต้องอาศัยทรัพยากรบุคคลด้านเทคนิคในระดับต่างๆ ที่มีคุณภาพอีกเป็นจำนวนมาก • ปัญหาด้านปริมาณ • ปัญหาด้านคุณภาพ • ปัญหาด้านการเข้าถึงแหล่งงาน/แหล่งคน (Availability) • การลดมาตรฐานวิชาชีพ ทั้งด้าน คุณภาพ และ จริยธรรม • “ยังมีแหล่งทรัพยากรบุคคลอีกจำนวนมาก ในขณะที่แหล่งงานหลักที่มีรายได้ และ Career Path ที่ดี และ มีโอกาสเป็นเจ้าของกิจการ” มหาเศรษฐีแห่งวงการเทคโนโลยี IT 9
10 อันดับมหาเศรษฐีแห่งวงการเทคโนโลยี IT Jeff Bezosอะเมซอน 5.7 แสนล้านบาท เจ้าพ่อแห่ง E-Commerce Bill Gates ไมโครซอฟท์ 1.7 ล้านล้านบาท Mark Zuckerberg เฟสบุ๊ก 5.2 แสนล้านบาท (อายุ 27 ปี) Larry Page กูเกิล 5 แสนล้านบาท เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ และผู้ร่วมก่อตั้งกูเกิลคู่กับSergey Brin ( เซอร์เกย์ บริน) Sergey Brin กูเกิล 5 แสนล้านบาท World Wide Web
10 อันดับมหาเศรษฐีแห่งวงการเทคโนโลยี IT Steve Ballmerไมโครซอฟท์ 4.1 แสนล้านบาท Steve Jobs แอปเปิล 2.1 แสนล้านบาท Pierre Omidyar อีเบย์ 1.8 แสนล้านบาท Eric Schmidt กูเกิล 1.8 แสนล้านบาท Dustin Moskovitz เฟสบุ๊ก 1 แสนล้านบาท (อายุ 27 ปี)
บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • สามารถประสานงานกับภาคอุตสาหกรรม เพื่อจัดหาวิทยากรที่มีคุณภาพและมีประสบการณ์จากผู้ประกอบการ โดย มหาวิทยาลัยรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับวิทยากร บางส่วน • ศึกษาความต้องการบุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ด้านต่างๆของภาคอุตสาหกรรม โดยเชิญผู้ประกอบการเข้ามาร่วมหารือออกแบบหลักสูตรการอบรม • สรรหาและคัดเลือกนักศึกษาที่เข้ารับการฝึกอบรม • ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายรับทราบ • ความพร้อมทางด้านจัดหาสถานที่ อุปกรณ์ และอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษา ทีมวิทยากร และพี่เลี้ยง
บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิธีการดำเนินงาน • ประชุมร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม • ลงนามในสัญญาร่วมโครงการกับสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) • ประชาสัมพันธ์โครงการและให้ข้อมูลกับนักศึกษาที่สนใจ • สถาบันการศึกษาจัดหานักศึกษาเข้าร่วมโครงการ • จัดเตรียมห้องอบรมเชิงปฏิบัติการ (ห้องประชุม ห้องอบรมและห้องคอมพิวเตอร์) เสมือนการทำงานจริง • จัดทำทะเบียนนักศึกษาที่เข้าร่วมและนักศึกษาที่ได้งานทำ
บทบาทของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประโยชน์ที่ได้รับ • นักศึกษาที่ผ่านการฝึกอบรมในโครงการ จะได้รับการจ้างงานหรือมีความพร้อมในการเข้าทำงาน เป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับสถาบันการศึกษา • จำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น คือ ชื่อเสียงในเรื่องจบแล้วมีโอกาสได้รับการจ้างงานที่แน่นอน ย่อมทำให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจในการให้บุตรหลานเข้าศึกษา • มีเครือข่าย คือ บริษัท/ผู้ประกอบการ ที่มีความสามารถรองรับบุคลากรที่เข้าร่วมและผ่านการฝึกอบรม เข้าทำงานในบริษัท/สถานประกอบการได้ • ทำให้อัตรานักศึกษาที่จบจากมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการได้รับงานทำตรงตามสาขาที่เรียนมาเพิ่มขึ้น
บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ คุณสมบัติ มีการเรียนการสอนในภาควิชาที่เกี่ยวข้อง • 1.1ด้านซอฟต์แวร์ Enterprise Software, Digital Content, Embedded Software,สายไอที หรือ • 1.2ภาควิชาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เกษตรและอาหาร การศึกษา โลจิสติกส์ การแพทย์หรือสาธารณสุข โดยพื้นฐานหรือภาควิชาอื่นที่มีความสนใจด้านไอที 15
บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ หน้าที่ • ร่วมให้ข้อมูลกับภาคการศึกษาเกี่ยวกับความต้องการบุคลากรด้านซอฟต์แวร์ เพื่อเตรียมการออกแบบหลักสูตรการอบรม • ส่งเจ้าหน้าที่/พนักงานมาเป็นวิทยากร (Trainer) และพี่เลี้ยงในการให้คำแนะนำกับผู้เข้ารับการฝึกอบรม • นำชิ้นงานจริงมาให้นักศึกษาทำ เพื่อเป็นการเรียนรู้ถึงระบบการทำงานจริงและขั้นตอนการทำงาน พร้อมจ่ายเงินเดือน/ค่าตอบแทนให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือบริษัทอาจจะจ่ายตามคุณภาพของผลงานของผู้เข้ารับการฝึกอบรม (โดยไม่น้อยกว่า 500 บาท/1ชิ้นงาน) • ทำการประเมินนักศึกษาร่วมกับมหาวิทยาลัย
บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ ประโยชน์ที่ได้รับ • ได้บุคลากรที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการ • ลดค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมพนักงาน/เจ้าหน้าที่เข้าใหม่ที่บริษัทจะว่าจ้างทำงาน • ได้ผลงานในปริมาณที่ต้องการหรือมากกว่าและสามารถควบคุมผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพตามที่ต้องการ
บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ วิธีการดำเนินงาน • ประชุมร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษา ร่วมออกแบบหลักสูตร • ส่งพนักงานเข้ามาเป็นวิทยากรและ/หรือพี่เลี้ยงให้กับนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ • จัดทำแบบประเมินผลเพื่อวัดผลนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ • นำชิ้นงานจริงมาป้อนให้นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือก • ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ มีโอกาสในการคัดเลือกนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการก่อนผู้ประกอบการที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ 18
บทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯบทบาทของผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ คุณสมบัติ • เป็นผู้ประกอบการธุรกิจในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง - ธุรกิจด้าน Enterprise Software, Digital Content,Embedded Software, Mobile Applicationหรือซอฟต์แวร์ประเภทอื่นๆ -ธุรกิจด้านการท่องเที่ยว เกษตรและอาหาร การศึกษา โลจิสติกส์ การแพทย์หรือสาธารณสุข หรือธุรกิจอื่นที่มีหน่วยงานด้านไอที • สามารถส่งทีมงานมาเป็นวิทยากร (Trainer)และ/หรือพี่เลี้ยงได้ • สามารถรับผู้ที่ผ่านการอบรมเข้าทำงานได้ หรือมีการจ้างงานในลักษณะต่างๆ เช่น Outsourcing, By job, By Project
หลักสูตร Mobile Application Development: Android and iOS • จะเน้นให้นักศึกษาอบรม Mobile Application and Media Tablets : • Android เป็นโอเอสแบบโอเพ่นซอร์ส นั่นคือเป็นระบบเปิดที่ให้บริษัท ผู้ผลิตมือถือต่าง ๆ เช่น Acer , Dell , hTC , Lenovo,LG , Motorolo, Samsung, Sony Ericsson ฯลฯ สามารถนำไปติดตั้งและใช้งานได้ฟรีในโทรศัพท์มือถือที่แต่ละบริษัทได้ทำการผลิตขึ้น โดยมีเงื่อนไขอยู่ว่า บริษัทเหล่านั้น ต้องผ่านเกณฑ์คุณภาพที่ Google กำหนด • ระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับสมาร์ทโฟน (Smartphone) ของแอปเปิล
สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยลัยศรีปทุม ด่วน !!!!..........สมัครเข้าร่วมโครงการ “โครงการบ่มเพาะและเตรียมความพร้อมบุคลากร ป้อนสู่อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์” ให้ทุนฟรี 45,000 บาทต่อคน รับเพียง 100 คน Mobile Application Development Android and iOS • ประโยชน์ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ จะได้รับ • นักศึกษาที่ผ่านการฝึกอบรมในโครงการ จะได้รับการจ้างงานหรือมีความพร้อมในการเข้าทำงาน เป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับตนเองและครอบครัว • มีเครือข่าย คือ บริษัท/ผู้ประกอบการ ที่มีความสามารถรองรับบุคลากรที่เข้าร่วมและผ่านการฝึกอบรม เข้าทำงานในบริษัท/สถานประกอบการได้ ทันที่ • ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับงานทำตรงตามสาขาที่เรียนมาเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรม IT • เป็นการให้ทุนฟรี สำหรับค่าใช้จ่ายการฝึกอบรม อาหาร และ ระหว่างทดลองงาน จำนวนเงิน 45,000 บาทต่อคน โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น • เมื่ออยู่ครบตลอดโครงการ ประมาณ 4 – 6 เดือนจะรับเงินค่าตอบแทนและค่าจ้างงาน • ไม่กระทบเวลาเรียน สามารถปรับแผนการเรียนได้ ฯลฯ ติดต่อขอใบสมัครได้ที่ ชั้น 8 อาคาร 5 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม