450 likes | 693 Views
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น. งานส่งเสริมฯ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ. โครงการ ดูแลสุขภาพเด็กนักเรียน แบบบูรณาการ (ตามพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ). โครงการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน. เด็กไทยทำได้. เด็กไทยแข็งแรง. ตรวจสุขภาพนักเรียน. กินผักทุกวันเด็กไทยไม่อ้วน.
E N D
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
งานส่งเสริมฯ ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการดูแลสุขภาพเด็กนักเรียน แบบบูรณาการ (ตามพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ) โครงการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน เด็กไทยทำได้ เด็กไทยแข็งแรง ตรวจสุขภาพนักเรียน กินผักทุกวันเด็กไทยไม่อ้วน มีและใช้สมุดตรวจสุขภาพ วัดรอบเอวเด็กมัธยมศึกษา แก้ไขปัญหาสุขภาพนักเรียน พัฒนาศักยภาพชมรมเด็กไทยทำได้
อำเภอที่จะต้องดำเนินการเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับทองอย่างน้อย ร้อยละ 50 ในปีงบประมาณ 2553 โซน1 1.เมือง 37. 24 % 2.หนองวัวซอ 11.42 % โซน2 1.กุมภวาปี 43.53% 2.โนนสะอาด 0% โซน3 1. บ้านดุง 3.80 % โซน4 1.น้ำโสม 31.25% 2.กุดจับ 7.14%
อำเภอที่จะต้องดำเนินการเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ประเมินเด็กไทยทำได้อย่างน้อย ร้อยละ 30 ในปีงบประมาณ 2553 โซน1 1. เพ็ญ 1.39% 2.รพ.ค่ายฯ 0 % 3.รพ.วัฒนา0 % โซน2 1.กุมภวาปี 43.53% 2.โนนสะอาด 6.25% 3. ศรีธาตุ 4.17 % 4.วังสามหมอ 6.06 % 5.หนองแสง 0 % โซน3 1. บ้านดุง 12.50 % 2. หนองหาน 10 % • 3.ทุ่งฝน13.33 % • 4.ไชยวาน 20% • 5.พิบูลย์รักษ์ 25 % 6. กู่แก้ว 25 % โซน4 1.น้ำโสม 31.25% 2.กุดจับ 5%
แนวทางการดำเนินงาน ปี 53
เป้าประสงค์เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นไทยมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเป้าประสงค์เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นไทยมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • ตัวชี้วัดระดับกรม: 1. จำนวน ร.ร.ผ่านเกณฑ์ ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร • ศูนย์ละ 3 แห่ง รวม 36 แห่ง • 2. ร.ร.ในฝันพัฒนาสู่ ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร • เขตพื้นที่การศึกษาละ 1 แห่ง รวม 185 แห่ง • (ดำเนินการโดย สพฐ.) • รวม 121 แห่ง • ตัวชี้วัดศูนย์ฯ: 1.จำนวน ร.ร.ผ่านเกณฑ์ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 3 แห่ง • 2. ร.ร.ในฝันพัฒนาสู่ ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร • เขตพื้นที่การศึกษาละ 1 แห่ง รวม 26 แห่ง
โครงการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์แบบบูรณาการงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับเพชร ระดับจังหวัด • ประชุมร่วมกับวางแผนการพัฒนาโรงเรียนแบบบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง • ชี้แจงการดำเนินงานร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรให้คณะกรรมการประเมินระดับอำเภอ • จังหวัดคัดเลือกร.ร.เพื่อพัฒนาสู่ร.ร.ระดับเพชร 1 แห่งเป็นตัวแทนเขตตรวจราชการที่10 และร.ร.ในฝัน สพท.ละ 1 แห่ง รวม 4 แห่ง • สนับสนุนการดำเนินงานร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับทอง เพชร ของจังหวัดตามเป้าหมายการพัฒนาของอำเภอ • ติดตามสุ่มประเมินรร.และให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงานระดับอำเภอในรร.ทอง เด็กไทยทำได้ (พ.ย.52-ก.ย.53) • ติดตามการมีและใช้สมุดบันทึกสุขภาพ • ติดตามงานไอโอดีนในโรงเรียนในเขตพื้นที่สีแดง • ติดตามงานทุกงานในโรงเรียนที่อยู่ในรพสต.
พัฒนาโรงเรียนสังกัดการศึกษาพิเศษ , โรงเรียนสพฐ.ทุรกันดาร ,โรงเรียน ตชด. 1. พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ “ค่ายเด็กไทยทำได้” ร.ร.สพฐ.ทุรกันดาร ตชด. 2. พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำ “ค่ายเด็กไทยทำได้” ร.ร.การศึกษาพิเศษ 3. สำรวจภาวะสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนตชด. 4. สนับสนุนและสร้างแรงจูงใจในการจัดโครงงานสุขภาพในโรงเรียนตชด.
การออกนิเทศติดตามประเมินการออกนิเทศติดตามประเมิน • การออกประเมิน ผล ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรโดยทีมจังหวัด มาดูเบื้องต้น แต่ต้องส่งเอกสารแฟ้มที่เกี่ยวข้องมาให้คณะกรรมการจังหวัดตรวจสอบก่อน.... ถ้าโรงเรียนใดพร้อมให้ประเมินในปี2553 ให้แจ้งจังหวัดด่วน เพราะจังหวัดจะต้องแจ้งชื่อไปทางศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่นเพื่อเขาจะทำแผนออกประเมินรับรอง ถ้าไม่ได้ แจ้งศูนย์อนามัยที่6 จะไม่มีแผนออกประเมิน • ออกประเมินระดับทอง โดยให้อำเภอดำเนินการประเมินรับรองส่วนจังหวัดจะออกสุ่มเพื่อดูคุณภาพทีมประเมินระดับอำเภอ
งานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 1 ⊙ ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละโรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง หน่วยวัด : อย่างน้อย ร้อยละ 50 ⊙ ตัวชี้วัดที่ 1.2 โรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ทอง เงิน ทองแดง หน่วยวัด : ร้อยละ 100 (การประเมินต้องไม่หมดอายุ ซึ่งไม่เกิน 3 ปี ดูจากวันที่ระบุในเกียรติบัตร)
โรงเรียนเด็กไทยทำได้ระดับจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 2 ⊙ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละโรงเรียนทุกสังกัดที่เข้าร่วมโครงการเด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานทุกข้อ ในเรื่อง อาหารสะอาดปลอดภัย สุขาน่าใช้ และ เด็กไทยฟันดี และ IQ EQ หน่วยวัด : ร้อยละ 30 ⊙ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละโรงเรียนทุกสังกัดที่เข้าร่วมโครงการเด็กไทยทำได้ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ มีชมรมเด็กไทยทำได้ และมีโครงงานสุขภาพ หน่วยวัด : ร้อยละ 100
การตรวจราชการแบบบูรณาการและการติดตามความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล : โครงการดูแลสุขภาพนักเรียนตามพระราชดำริฯสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2553
อัตราป่วย สุขภาพจิต สมรรถภาพทางกาย อุบัติเหตุ เฝ้าระวัง โภชนาการ สุขภาพช่องปาก อนามัยการเจริญพันธุ์ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลอาหารและน้ำ นักเรียน : อยู่ดี มีสุข นักเรียนเก่ง เป้าประสงค์ นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ประสิทธิผล บ้าน/ท้องถิ่น + วัด + โรงเรียน คุณภาพ นโยบาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ รร.ส่งเสริมสุขภาพ To Be No1 / อย.น้อย กระบวนการอื่นๆ คณะกรรมการ ระดับจังหวัด ประสิทธิภาพ ระบบฐานข้อมูล สุขภาพนักเรียน การพัฒนาบุคลากร พัฒนาองค์กร
แบบบันทึก การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน
สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย จัดทำแบบบันทึกฯเพื่อ เป็นเครื่องมือให้นักเรียนตรวจหาความผิดปกติ ของร่างกายเบื้องต้นด้วยตนเอง ปลูกฝังการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สร้างขีดความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง
แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเองแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง มี 2 ฉบับ สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 - ป.6 สำหรับนักเรียนชั้น ม.1 - ม.6
แบบบันทึก การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 - ป.6 ประกอบด้วย แบบสำรวจความสะอาดของร่างกายและเสื้อผ้า แบบสำรวจโรคหรือความผิดปกติของร่างกาย แบบสำรวจภาวะสายตาและการได้ยิน แบบสำรวจภาวะการเจริญเติบโต แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ความรู้เรื่องสุขภาพ
แบบบันทึก การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้น ม.1 - ม.6 ประกอบด้วย แบบสำรวจภาวะสายตาและการได้ยิน แบบสำรวจภาวะการเจริญเติบโต แบบประเมินความสุข แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องอุบัติเหตุ ความรู้เรื่องสุขภาพ
การดำเนินงาน 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดประกอบด้วยหน่วยงาน/องค์กรอย่างน้อย ๕ ภาคส่วน 2. มีการประชุม/ชี้แจงการใช้แบบบันทึกฯให้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และครู /นักเรียน /เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับพื้นที่ชี้แจงทำความ เข้าใจและฝึกปฏิบัติการใช้แบบบันทึกที่ถูกต้อง 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ เฝ้าระวังภาวะสุขภาพนักเรียน โดยใช้แบบบันทึกฯ 4. มีแผนการนิเทศ ติดตามแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.ฝ่ายการศึกษาและสาธารณสุขผลักดันและสนับสนุนให้ครู/นักเรียน ใช้แบบบันทึกฯ • 6.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและครูนำข้อมูลจากแบบบันทึกสุขภาพไปใช้ประโยชน์ • 7.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ติดตามประเมิน ผลการใช้แบบบันทึกฯอย่างต่อเนื่อง • 8.สนับสนุนให้นักเรียน แกนนำด้านสุขภาพ นำข้อมูลจากแบบบันทึกนำมาจัดทำโครงงานสุขภาพ • 9.มีการติดตามและประเมินการใช้แบบบันทึกฯติดตามแบบ บูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
10.มีการประเมินภาวะสุขภาพนักเรียนจากแบบบันทึกฯ • 11.มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพมี • 12.การจัดเก็บข้อมูล/ฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันพร้อมใช้งาน • 13..คณะกรรมการมีการสรุป วิเคราะห์ข้อมูลและ ผลักดันให้เกิดแผนงาน /โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพนักเรียน • 14.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/หน่วยงานอื่น สนับสนุนทรัพยากร เพื่อพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐาน • 15.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรสาธารณสุข ฝ่ายการ ศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง
ปัญหาและอุปสรรค นักเรียนทำแบบบันทึกฯ หายบ่อย ไม่มีการส่งต่อการใช้แบบบันทึกฯ เมื่อมีการเลื่อนชั้น / ย้ายโรงเรียน เจ้าหน้าที่และครูไม่เข้าใจแนวคิดเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง
บทบาทของโรงเรียน การจัดสรรแบบบันทึกฯให้ครบทุกคน ประชุมชี้แจง วางแผนการใช้ และการจัดเก็บ การบูรณาการเข้าไปในการเรียน การสอน ให้คำปรึกษา/ส่งต่อนักเรียนที่พบว่าตนเองมีอาการผิดปกติ
บทบาทของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขบทบาทของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1. 2. การจัดสรรแบบบันทึกฯให้ครบทุกโรงเรียน กระตุ้นให้เกิดการใช้ - ประชุมชี้แจงครูอนามัย/ครูผู้รับผิดชอบ - ให้นักเรียนมีการประเมินตนเอง - สนับสนุนให้โรงเรียนบูรณาการในการเรียน การสอน นิเทศ/ติดตาม นำข้อมูลที่ได้มาใช้ประโยชน์ในการวางแผนดูแลสุขภาพนักเรียน 3. 4.
จังหวัดมีสมุดบันทึกฯอยู่ ให้รพ. /สอ.ดำเนินการตรวจสอบ นิเทศติดตาม ถ้าไม่ครบ100 % • ให้เบิกได้ที่สสจ.อุดรธานี ทำรายงานการจัดสรรและการใช้แบบบันทึกสุขภาพด้วยตนเอง ส่งมาพร้อมด้วย
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร แนวคิด ยกระดับการพัฒนาของโรงเรียน มุ่งผลลัพธ์ทางสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ นโยบายที่สอดคล้องกับฝ่ายการศึกษา บูรณาการงานด้านสุขภาพนักเรียน
กลวิธีดำเนินงานที่ผ่านมากลวิธีดำเนินงานที่ผ่านมา * ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้กับครูโรงเรียนเป้าหมาย/เจ้าหน้าที่สธ. * นิเทศติดตาม/ประเมินรับรอง * จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อสังเกตจากการประเมิน(ตัวชัดที่ผ่านยาก) 1. ตัวชี้วัดข้อ 3 โครงงานสุขภาพของนักเรียน (หลักการเหตุผลไม่ชัดเจน ไม่มีสถานการณ์/สาเหตุที่ต้องทำโครงงาน รูปแบบการเขียน 5 บท) 2. ตัวชี้วัดข้อ 4 ภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ (เริ่มอ้วน, อ้วน 7%) (มีเด็กอ้วนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ไม่มีวิธีการแก้ไขปัญหาเฉพาะกลุ่ม) 3. ตัวชี้วัดข้อ 8 โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพ (เป็นโครงงานแก้ปัญหาของโรงเรียน/ไม่มีสถานการณ์/สาเหตุที่ต้องทำโครงงาน/รูปแบบการเขียน 5 บท) 4. ตัวชี้วัดข้อ 9 น้ำดื่มไม่ผ่านมาตรฐานของกรมอนามัย (มีแบคทีเรียเกินมาตรฐาน) 5. ตัวชี้วัดข้อ11 ส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐานHAS (พื้นเปียก/น้ำขัง/กลอนประตูชำรุด/ไม่สะอาด) 6. ตัวชี้วัดข้อ 15 โรงอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน(การล้างภาชนะกับพื้น/การปกปิดอาหาร/อุปกรณ์ใส่อาหาร/บ่อดักไขมัน)
เกณฑ์การประเมิน • ปรับเมื่อ 22 ธ.ค. 2552 • โดยนักวิชาการจาก - สำนักส่งเสริมสุขภาพ - กองทันตสาธารณสุข - กองโภชนาการ - กองออกกำลังกาย - กองสุขาภิบาลอาหาร+น้ำ - กรมสุขภาพจิต - ศูนย์อนามัยเขต
การรับรองเป็นร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร เดิมมีอายุ 2 ปี อายุ 3 ปี เกณฑ์การประเมิน
กระบวนการในการเข้าสู่การรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรกระบวนการในการเข้าสู่การรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร สสจ.ร่วมกับ สพท. ชี้แจง โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ โรงเรียนแจ้งความจำนงสมัครเข้าร่วมโครงการไปยังหน่วยงานต้นสังกัดในพื้นที่ โรงเรียนประเมินตนเองโดยคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน โรงเรียนพัฒนา เข้าสู่เกณฑ์ แจ้งความจำนงขอรับการประเมินพร้อมเอกสาร / หลักฐาน ไปยังทีมประเมินระดับจังหวัดล่วงหน้า 1 เดือน ประเมินการเป็นเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเบื้องเต้น ทีมประเมินระดับจังหวัดที่ผ่านการอบรมและรับรองจากกรมอนามัย ตรวจสอบและประเมินรับรองเป็น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ทีมประเมินจากส่วนกลางร่วมกับศูนย์ฯและทีมประเมินระดับจังหวัด รับเกียรติบัตร ( การรับรองมีอายุ3 ปีนับจากวันที่ระบุในเกียรติบัตร)
การสนับสนุนการดำเนินงานของพื้นที่การสนับสนุนการดำเนินงานของพื้นที่ • กรมอนามัยรับผิดชอบงบประมาณค่าตรวจวิเคราะห์น้ำของร.ร. เป้าหมาย (ครั้งแรก) • (คือ โรงเรียนหนองแดง กุมภวาปี ตัวแทนเขตปี53 และรร.ในฝัน 4 รร. ยิ่งยวดพิทยานุกูล รร.ศรีธาตุพิทยาคม รร.ทุ่งฝนวิทยาคาร รร.บ้านผือพิทยาสรรค์ ) • ร.ร.ที่เข้าร่วมโครงการฯเสียค่าบริการตรวจวิเคราะห์น้ำ 1,500 บาท โดยให้ระบุว่าเป็นร.ร.เพชร • สนับสนนเอกสารวิชาการ/คู่มือการดำเนินงาน • สนับสนุนวิทยากร/องค์ความรู้ • ประเมินรับรอง - สำนักส่งเสริมฯจะประเมินเฉพาะ เป้าหมายร.ร.เพชรของกรมอนามัย 36 แห่งอุดรคือโรงเรียนหนองแดง กุมภวาปี ) -ร.ร.ในฝันให้ศูนย์ฯประเมินไขว้ระหว่างศูนย์ฯ
โครงการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนอย่างยั่งยืนเชิงบูรณาการ ในโรงเรียน • กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนประถมใน 8 อำเภอ 19 ตำบล จำนวน 105แห่ง วิธีการดำเนินงาน 1.ตรวจปัสสาวะในเด็กนักเรียน จำนวน 2 ครั้ง 2.ให้จัดสรรเกลือเสริมไอโอดีน ให้ 3 กิโลกรัมต่อคน/ ปี 3.ให้จัดสรรอุปกรณ์การผสมน้ำไอโอดีน 4.ให้จัดสรรน้ำไอโอดีนเข้มข้น (ขวดเดี่ยว) 5.ส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่ สนับสนุนให้นักเรียนกินไข่
โครงการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนอย่างยั่งยืนเชิงบูรณาการ ในโรงเรียน • 6.สสจ.สนับสนุน ไอ-คิด ในการตรวจสอบคุณภาพเกลือ • 7.ให้แม่ครัวที่ทำอาหารให้นักเรียนใช้เกลือเสริมไอโอดีนปรุงอาหาร • 8.เฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีน โดยการตรวจคอพอกในเด็กนักเรียนระดับประถมทุกคน • 9.อมรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน เรื่องโรคขาดสารอาหาร • 10.สร้างแกนนำนักเรียนที่รับผิดชอบโดยตรง • 11.รณรงค์การใช้เกลือเสริมไอโอดีนหรือน้ำหยดไอโอดีน
โครงการตรวจสุขภาพสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรมโครงการตรวจสุขภาพสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม • เป้าหมาย • โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนสามัญศึกษา 18 วัด • กิจกรรมในการดำเนินการ • 1.ตรวจสุขภาพประจำปี • 2.ให้คำแนะนำ
สวัสดีค่ะ ผู้ประสานงาน:1. นางนิธิวดี ปิยสุทธิ์ โทร.081-8055008e-mail:nitiwadee2008@hotmail.com 2. นางภัสธิยะกุล ชาวกะมุดโทร.081-7393643e-mail:patti_toto@Hotmail.com