1 / 32

DOWN TOWN

DOWN TOWN. สิ่งปฏิกูล. อุจจาระและปัสสาวะ รวมตลอดถึงวัตถุอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกและมีกลิ่นเหม็น. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง. - พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 - พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535.  ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการจัดการ สิ่งปฏิกูลในเขตท้องถิ่นของตนเอง. ก. ดำเนินการเอง

raleigh
Download Presentation

DOWN TOWN

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DOWN TOWN

  2. สิ่งปฏิกูล อุจจาระและปัสสาวะ รวมตลอดถึงวัตถุอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกและมีกลิ่นเหม็น กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535

  3. ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการจัดการสิ่งปฏิกูลในเขตท้องถิ่นของตนเอง ก. ดำเนินการเอง ข. มอบให้ผู้อื่นดำเนินการแทนภายใต้การควบคุมของราชการ ส่วนท้องถิ่น ค. อนุญาตให้เอกชนดำเนินการโดยทำเป็นธุรกิจ (กิจการรถสูบ สิ่งปฏิกูล) เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการขนถ่าย และกำจัดสิ่งปฏิกูลในขั้นตอนสุดท้ายให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล

  4. การขอใบอนุญาต เทศบาลดำเนินการเอง

  5. หลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูล 1. รถสูบสิ่งปฏิกูล - ถังปิดมิดชิด- สายยาง ท่อ มีสภาพดี

  6. หลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูล 2. อุปกรณ์ทำความสะอาดประจำรถ เช่น ถังใส่น้ำ ไม้กวาด น้ำยาฆ่าเชื้อโรค (ไลโซล 2 %) น้ำยาดับกลิ่น

  7. หลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูล 3. ชุดปฏิบัติงาน ประกอบด้วย เสื้อคลุม ถุงมือยาง รองเท้ายาง หุ้มแข้ง ผ้าปิดจมูก

  8. หลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหลักเกณฑ์การขนถ่ายสิ่งปฏิกูล 4. มีระบบการติดตามตรวจสภาพ - แบบบันทึกรับ - ส่งสิ่งปฏิกูล

  9. ใบนำส่งสิ่งปฏิกูลเทศบาลเมืองทุ่งสงใบนำส่งสิ่งปฏิกูลเทศบาลเมืองทุ่งสง โทร 075 - 411342-3 , โทรสาร 075-411515

  10. สิ่งที่ต้องปฏิบัติในการขนถ่ายสิ่งปฏิกูลสิ่งที่ต้องปฏิบัติในการขนถ่ายสิ่งปฏิกูล 1. ผู้ปฏิบัติงานสวมชุดป้องกัน2. ทำความสะอาดท่อสำหรับใช้สูบสิ่งปฏิกูล หลังจากสูบเสร็จ

  11. สิ่งที่ต้องปฏิบัติในการขนถ่ายสิ่งปฏิกูลสิ่งที่ต้องปฏิบัติในการขนถ่ายสิ่งปฏิกูล 3. ทำความสะอาดชุดปฏิบัติงานทุกวัน หลังปฏิบัติงาน รวมทั้ง ตัวผู้ปฏิบัติงาน 4. กรณีที่มีสิ่งปฏิกูลหกเรี่ยราด ให้ทำการฆ่าเชื้อโรค ด้วยน้ำยา ฆ่าเชื้อโรค ( ไลโซน 2% ) แล้วทำความสะอาดด้วยน้ำ 5. มีการตรวจสุขภาพผู้ปฏิบัติงาน ปีละ 2 ครั้ง 6. ห้ามนำรถไปใช้ในกิจการอื่น

  12. สิ่งที่ต้องปฏิบัติในการขนถ่ายสิ่งปฏิกูลสิ่งที่ต้องปฏิบัติในการขนถ่ายสิ่งปฏิกูล 7. เติมน้ำหมักชีวภาพในโถส้วม เพิ่มจุลินทรีย์ในถังเกรอะ

  13. การควบคุมการขนถ่ายและบำบัดสิ่งปฏิกูลการควบคุมการขนถ่ายและบำบัดสิ่งปฏิกูล  ต้องมีใบนำส่งสิ่งปฏิกูล  มีสถานที่หรือระบบบำบัดที่ถูกหลักสุขาภิบาล ระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล บ่อหมักปฏิกูลเป็นปุ๋ย ระบบหมักก๊าซชีวภาพ

  14. ระบบกำจัดสิ่งปฏิกูลของเทศบาลระบบกำจัดสิ่งปฏิกูลของเทศบาล  วิธีการหมักย่อยสลายปฏิกูลในถังปิด โดยอาศัยจุลินทรีย์ช่วยย่อยสลาย ปุ๋ยอินทรีย์ ผลพลอยได้ รดต้นไม้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ น้ำจากลานทรายกรอง ดำเนินโครงการ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 ในพื้นที่บ่อฝังกลบมูลฝอยเก่า หมู่ที่ 2 ตำบลควนกรด อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช

  15. ระบบบ่อหมักปฏิกูล 1. บ่อหมักย่อยสลาย

  16. ระบบบ่อหมักปฏิกูล 2. ลานกรองทราย

  17. ระบบบ่อหมักปฏิกูล 1. ลานทรายกรอง ทรายหยาบ 15 ซม. หินเบอร์ 1 15 ซม. หินเบอร์ 2 20 ซม.

  18. ระบบบ่อหมักปฏิกูล 3. โรงตากปฏิกูล

  19. ระบบบ่อหมักปฏิกูล 4. โรงบดสิ่งปฏิกูล และเก็บปุ๋ย

  20. การจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลการจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล  สถานที่บำบัดสิ่งปฏิกูล- น้ำไม่ท่วม - ห่างจากบ้านเรือนไม่น้อยกว่า 50 เมตร - ชุมชนยอมรับ

  21. การจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลการจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล  เจ้าหน้าที่ต้องสวมถุงมือยางและรองเท้าหุ้มแข้งขณะปฏิบัติงาน  เจ้าหน้าที่ดูแลให้รถสูบสิ่งปฏิกูลต้องทิ้งสิ่งปฏิกูลลงถังหมัก

  22. การจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลการจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล  ปฏิกูลหกเรี่ยราด ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ  ปิดฝาถังหมักทุกครั้ง หลังจากที่ใส่ปฏิกูลลงในถังแล้ว

  23. การจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลการจัดการดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล  ดูแลลานทรายกรอง  เจ้าหน้าที่ต้องได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี อย่างน้อยปีละ 2ครั้ง  อุปกรณ์ชำรุดแจ้งซ่อมทันที

  24. ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูลขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูล  รถดูดสิ่งปฏิกูลจากอาคารบ้านเรือน

  25. ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูลขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูล  นำไปใส่ถังหมักระยะเวลาการหมัก 28 วัน แล้วจึงปล่อยลงสู่บ่อผึ่งทิ้งไว้ให้แห้ง

  26. ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูลขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูล  ตักสิ่งปฏิกูลจากบ่อผึ่ง นำมาตากแดดให้แห้งสนิท

  27. ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูลขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูล  เข้าสู่เครื่องบดปุ๋ย จะได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ลักษณะเป็นผงสีดำ

  28. ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูลขั้นตอนการผลิตปุ๋ยหมักจากสิ่งปฏิกูล  บรรจุถุงจำหน่าย กิโลกรัมละ 5 บาท

  29. การเพิ่มคุณภาพปุ๋ย เครื่องผสมและอัดเม็ด เครื่องอบร้อน ปฏิกูลผง ปุ๋ยเม็ด ปุ๋ยหมักและแร่ธาตุ

  30. ปริมาณธาตุอาหารหลักปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูลปริมาณธาตุอาหารหลักปุ๋ยอินทรีย์จากสิ่งปฏิกูล ตรวจวิเคราะห์โดย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

More Related