450 likes | 991 Views
เงินทดรองราชการ. ความหมาย. เป็นเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายและอนุญาตให้ ส่วนราชการมีไว้ตามจำนวนที่เห็นสมควร เพื่อทดรองจ่าย เป็นค่าใช้จ่ายตามระเบียบหรือข้อบังคับของกระทรวงการคลัง. เงินทดรองราชการ.
E N D
ความหมาย • เป็นเงินที่กระทรวงการคลังจ่ายและอนุญาตให้ ส่วนราชการมีไว้ตามจำนวนที่เห็นสมควร เพื่อทดรองจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายตามระเบียบหรือข้อบังคับของกระทรวงการคลัง
เงินทดรองราชการ • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อทดรองเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่เข้าร่วมกองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก พ.ศ. 2542 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2547 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือ คนไทยในต่างประเทศ พ.ศ. 2549 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการของส่วนราชการในต่างประเทศ พ.ศ. 2550
เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
วัตถุประสงค์ของเงินทดรองราชการวัตถุประสงค์ของเงินทดรองราชการ • เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้าแก่ผู้ประสบภัย ในกรณีเกิดภัยพิบัติฉุกเฉิน • มิได้มุ่งหมายที่จะชดใช้ความเสียหายให้แก่ผู้ใด
หลักการใช้จ่ายเงินทดรองราชการหลักการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ • ภัยพิบัติเกิดขึ้น • ไม่มีเงินงบประมาณในการช่วยเหลือ • การให้ความช่วยเหลือเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด • เมื่อใช้แล้วต้องจัดหาเงินงบประมาณมาชดใช้คืน
ภัยพิบัติ ผวจ.แต่งตั้ง ก.ช.ภ.อ/กอ. อำนาจหน้าที่ ผวจ.จัดสรรวงเงินทดรองราชการ ให้อำเภอไม่ต่ำกว่า 500,000/ครั้ง/ภัย จังหวัด ผวจ.ประกาศภัย ก.ช.ภ.อ/กอ. ประชุมพิจารณาให้ความช่วยเหลือลือ ประกาศภัยพิบัติ ผวจ.แต่งตั้ง ก.ช.ภ.จ. อำนาจหน้าที่ กทม. อธิบดี ปภ. ประกาศภัย กรณีเกินอำนาจอนุมัติที่ได้รับจัดสรร ก.ช.ภ.จ. ประชุมพิจารณาให้ความช่วยเหลือ การให้ความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ อนุมัติโดย ปลัดกระทรวง พม. กรณีอยู่ในอำนาจอนุมัติตามวงเงินที่ได้รับจัดสรร ผวจ.อนุมัติและอาจมอบ ส่วนราชการต่าง ๆ การให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตร อนุมัติโดย ปลัดกระทรวง กษ. นายอำเภอ/หน.กิ่งอำเภอ 1. อนุมัติตาม ก.ช.ภ.อ./กอ. 2. ยืมเงินทดรองราชการ การให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์ อนุมัติโดย ปลัดกระทรวง สธ. ให้ความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ อนุมัติโดย อธิบดี ปภ. กรมบัญชีกลาง อนุมัติเบิกเงินทดรองราชการ สนง.ปภ.จังหวัด คลังจังหวัด อนุมัติเบิกเงินทดรองราชการ
วิธีปฏิบัติในการใช้เงินทดรองราชการวิธีปฏิบัติในการใช้เงินทดรองราชการ ๏ ต้องมีการประกาศภัยพิบัติ 1. ผู้มีอำนาจประกาศ :- - กรุงเทพฯ : อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - จังหวัด : ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. การประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินให้มีรายการดังนี้ :- - ประเภทของภัย - พื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติ - วัน เดือน ปี ที่เกิดและสิ้นสุดภัย - เวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของการให้ความช่วยเหลือ ต้องไม่เกิน 3 เดือนนับแต่วันที่เกิดภัย
วิธีปฏิบัติในการใช้เงินทดรองราชการ (ต่อ) การเตรียมการในวันหยุดราชการของส่วนภูมิภาค :- • มีเหตุอันควรคาดหมายได้ว่าจะเกิดภัยพิบัติ • มีความจำเป็นต้องเตรียมเงินสดไว้ • ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจเบิกเงินทดรองเพื่อสำรองจ่ายได้ตามความเหมาะสมจำเป็น • เมื่อภัยพิบัติสิ้นสุดลงให้นำเงินที่เหลือส่งคืนคลัง
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ ส่วนราชการที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้ประสบภัย:- ๏ ส่วนกลาง (กรุงเทพมหานคร) - ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัย : กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข :สธ. - ด้านสังคมสงเคราะห์และฟื้นฟูผู้ประสบภัย :พม. - ด้านการเกษตร :กษ.
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ (ต่อ) ๏ ส่วนภูมิภาค - อำเภอ/กิ่งอำเภอ โดยนายอำเภอ/ปลัดอำเภอหัวหน้ากิ่งอำเภอ - จังหวัด โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ๏ การให้ความช่วยเหลือเป็นไปตามมติคณะกรรมการ ดังนี้ :- - คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติอำเภอ หรือ คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกิ่งอำเภอ - คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด
วงเงินทดรองราชการ • สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 100 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ 10 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 50 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหม 50 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย 50 ล้านบาท • สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข 10 ล้านบาท • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 50 ล้านบาท • สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด แห่งละ 50 ล้านบาท
การขยายวงเงินทดรองราชการการขยายวงเงินทดรองราชการ ๏รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมีอำนาจอนุมัติ - ขยายวงเงินทดรอง - ให้ส่วนราชการอื่นมีวงเงินทดรอง
หลักเกณฑ์การช่วยเหลือหลักเกณฑ์การช่วยเหลือ • ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กระทรวง การคลังกำหนด • กรณีจำเป็นต้องจ่ายนอกเหนือหลักเกณฑ์ ต้องได้รับ อนุมัติจากกระทรวงการคลังก่อน
การชดใช้คืนเงินทดรองราชการการชดใช้คืนเงินทดรองราชการ • หลัก - เมื่อจ่ายไปแล้วให้รีบดำเนินการชดใช้คืนโดยเร็ว • ข้อยกเว้น - เกิดภัยพิบัติฉุกเฉินในเดือนสิงหาคม - กันยายน - ได้จ่ายเงินทดรองไปแล้ว - ไม่สามารถจัดงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้คืนในปีงบประมาณ ได้ทัน
เงินทดรองราชการ(สำนักงาน)เงินทดรองราชการ(สำนักงาน)
หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการหลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ 1. กรณีส่วนราชการที่เป็นหน่วยเบิกจ่ายใหม่ : จะพิจารณาโดยเทียบเคียงกับหน่วยงานที่มีลักษณะงานและภารกิจในการปฏิบัติงานเหมือนกัน
หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ (ต่อ) 2. กรณีส่วนราชการขอเพิ่มวงเงินทดรองราชการ: 2.1 หากมีการใช้จ่ายเงินเฉลี่ยย้อนหลัง 6 เดือน ต่ำกว่าหรือเท่ากับวงเงินที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม และมีการเบิกเงินงบประมาณชดใช้เงินทดรองราชการ ดังนี้ (1) 1 ครั้งต่อเดือน ให้มีวงเงินทดรองราชการเท่าเดิม (2) มากกว่า 1 ครั้งต่อเดือน จะพิจารณาเพิ่มวงเงินทดรอง ราชการให้
หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ (ต่อ) 2.2 หากส่วนราชการมีการใช้จ่ายเงินเฉลี่ยย้อนหลัง 6 เดือนสูงกว่าวงเงินที่ได้รับอนุมัติไว้เดิม และมีการเบิกเงินงบประมาณชดใช้เงินทดรองราชการ ดังนี้ (1) 1 - 2 ครั้งต่อเดือน จะพิจารณาเพิ่มวงเงินทดรองราชการให้ (2) น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน ให้มีวงเงินทดรองราชการจำนวนเท่าเดิม และการเพิ่มวงเงินทดรองราชการทุกกรณี จะอนุมัติเพิ่มให้ตาม จำนวนผลต่างที่คำนวณได้ทั้งนี้ ไม่เกินวงเงินที่ขอตกลง
หลักเกณฑ์การอนุมัติวงเงินทดรองราชการ (ต่อ) 3. การอนุญาตให้เก็บรักษาเงินทดรองราชการไว้ ณ ที่ทำการ เกินกว่าที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ - จะพิจารณาจากสถิติการใช้จ่ายเงินย้อนหลัง 6 เดือน - หากมีการใช้จ่ายเฉลี่ยแต่ละเดือน : (1) สูงกว่าวงเงินที่ขออนุญาตเก็บรักษาฯ จะพิจารณาให้ตามที่ขอ (2) ถ้าใช้จ่ายต่ำกว่าวงเงินที่ขออนุญาตเก็บรักษาฯ จะพิจารณาตาม ความจำเป็น (ดูจากระยะทางระหว่างหน่วยงานกับธนาคาร)
การใช้จ่ายเงินทดรองราชการการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ ให้มีไว้เพื่อทดรองใช้จ่ายตามงบประมาณรายจ่าย ดังนี้ 1. งบบุคลากรเฉพาะค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่ายเป็นงวดแน่นอน 2. งบดำเนินงาน ยกเว้น ค่าไฟฟ้าและค่าน้ำประปา 3. งบกลางเฉพาะที่จ่ายเป็นเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของ บุตรและการรักษาพยาบาล 4. งบอื่นที่จ่ายในลักษณะเช่นเดียวกับ (1) หรือ (2)
ขอบคุณ สำนักกฎหมาย โทรศัพท์ 0-2273-9024 ต่อ 4320 , 6329 โทรสาร 0-2273-9609