780 likes | 894 Views
การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร และการจัดทำแ ผ นปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร. สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค 29-30 พ.ค. 55. . กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555. กรอบ การประเมินผลของส่วน ราชการ ประจำปี พ.ศ. 2555.
E N D
การพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรและการจัดทำแผนปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กรและการจัดทำแผนปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค 29-30 พ.ค. 55
.กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปี พ.ศ. 2555 พ.ร.ฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 9 (3) กำหนดว่า ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กำหนด และมาตรา 12 กำหนดว่า เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีการอื่นใด เพื่อแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ 2. มติ ครม. เมื่อ 24 ม.ค. 54 เห็นชอบให้นำระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System หรือ GES) มาใช้ติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 โดยให้ปรับปรุงระบบตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ เพื่อลดความซ้ำซ้อนและภาระงานเอกสารให้กับส่วนราชการ ประกอบกับเพื่อให้ระบบ GES สะท้อนผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการของหน่วยงานราชการอย่างแท้จริง
กรอบการประเมินผลภาคราชการกรอบการประเมินผลภาคราชการ • ประเมินผลลัพธ์/ผลผลิต • ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย • ระดับกระทรวง • กลุ่มภารกิจ (ถ้ามี) • กรม • ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ • ระดับความพึงพอใจของผู้กำหนด • นโยบาย มิติภายนอก • การประเมินผลประโยชน์ต่อ • ค่าใช้จ่าย (Benefit-Cost Ratio) • หรือการประเมินประสิทธิผลต่อ • ค่าใช้จ่าย (Cost-Effectiveness) • การประเมินผลกระทบ มิติด้าน ประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ มิติด้าน ประสิทธิภาพ มิติด้าน การพัฒนา องค์การ • การเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผน • ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต • ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริง • เปรียบเทียบกับแผน • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดภารภาครัฐ มิติภายใน
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 • การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) • ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย • ระดับกระทรวง • กลุ่มภารกิจ (ถ้ามี) • กรม • การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) • ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ • ผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการ • ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ • ผู้กำหนดนโยบาย มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) • การประเมินประสิทธิภาพ • (ร้อยละ15) • ต้นทุนต่อหน่วย • สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน • ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน • การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน • การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม • การดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ • การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) • ขีดสมรรถนะของการบริหารจัดการ • - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา • สมรรถนะของบุคลากร • - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา • ปรับปรุงสารสนเทศ • - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา • ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ มิติภายใน
ความเชื่อมโยงของ GES กับ PMQA
ตัวชี้วัดมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การตัวชี้วัดมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ มติ อ.ก.พ.ร. เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เมื่อวันที่ 24 ส.ค. 54 - เห็นชอบกรอบแนวทางการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ ในส่วนมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ ให้มีตัวชี้วัดเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาขีดสมรรถนะการบริหารจัดการขององค์การ ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด Human Capital Information Capital Organization Capital Survey Online 6 ข้อ ค่าเฉลี่ยสมรรถนะ Survey Online 24 ข้อ ตรวจเชิงประจักษ์
แนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การแนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาขีดสมรรถนะการบริหารจัดการ น้ำหนัก : ร้อยละ 15 แบ่งออกเป็น 3 ตัวชี้วัด ดังนี้ KPI 15 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ KPI 13 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร KPI 14: ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ เปรียบเทียบผลก่อน-หลัง เปรียบเทียบผลก่อน-หลัง • ส่วนราชการสรุปผลค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของส่วนราชการ (ค่าคะแนนการประเมินผลสมรรถนะประจำปี รอบที่ 1 (ก.ย. 54) • ส่วนราชการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานในภาพรวมสูงขึ้น • ส่วนราชการสรุปผลค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของส่วนราชการ (ค่าคะแนนการประเมินผลสมรรถนะประจำปี รอบที่ 2 (ก.ย. 55) • เทียบระดับการผลการประเมินกับเกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนด เพื่อสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัด • ส่วนราชการสำรวจ OrganizationClimate Survey จากบุคลากร (ข้าราชการ) ทั่วทั้งองค์กร • 2. ส.ก.พ.ร. ประมวลผลคะแนน เปรียบเทียบผลก่อน-หลัง 14.1 การสำรวจความพึงพอใจของ ผู้ใช้งานสารสนเทศ 1. ส่วนราชการสำรวจ InformationCapital Survey จากบุคลากร (ข้าราชการ) ทั่วทั้งองค์กร 2. ส.ก.พ.ร. ประมวลผลคะแนน เปรียบเทียบระดับสมรรถนะก่อน-หลัง ประเมินผลตาม Checklist รอบ 12 เดือน 14.2 การประเมินจากข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ส่วนราชการพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร 2. ผู้ตรวจตรวจประเมินตาม checklist IT และประมวลผลคะแนน
แนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การแนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาขีดสมรรถนะการบริหารจัดการ น้ำหนัก : ร้อยละ 15 แบ่งออกเป็น 3 ตัวชี้วัด ดังนี้ 13 14 15
แนวทางการดำเนินการ KPI 13 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร Before After 6. สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผลคะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร • ส่วนราชการประเมินผลการปฏิบัติงาน (ผลสัมฤทธิ์ของงานและสมรรถนะ ตามแนวทางของ ก.พ.) ของบุคลากรในภาพรวม 5. ส่วนราชการส่งผลประเมินให้สำนักงาน ก.พ.ร. 31 ม.ค. 56 2. ส่วนราชการส่งผลประเมินให้สำนักงาน ก.พ.ร. 4. ส่วนราชการประเมินผลการปฏิบัติงานฯ ของ บุคลากรในภาพรวม 31 ม.ค. 55 3. ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาบุคลากร ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ค. ก.พ. มิ.ย. ส.ค. มี.ค. ก.ค. ก.ย. ต.ค. ประเมิน สมรรถนะของบุคลากรของส่วนราชการ ตามแนวทางของ ก.พ.
พจนานุกรมสมรรถนะ การมุ่งผลสัมฤทธิ์
พจนานุกรมสมรรถนะ การบริการที่ดี
เกณฑ์การให้คะแนน KPI 13 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร • กรณีที่ 2 : ผลการประเมินสมรรถนะรอบที่ 1 น้อยกว่า 91.00 คะแนน • กรณีที่ 1 : ผลการประเมินสมรรถนะรอบที่ 1 มากกว่าหรือเท่ากับ 91.00 คะแนน หมายเหตุ : X1คือ ค่าเฉลี่ยผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรขององค์กรประจำปี รอบที่ 1 (เดือนกันยายน 2554) X2คือ ค่าเฉลี่ยผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรขององค์กรประจำปี รอบที่ 2 (เดือนกันยายน 2555)
แนวทางการดำเนินการ KPI 14 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ After Before ผลการประเมิน การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล ผู้ตรวจประเมินประสิทธิภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (น้ำหนักร้อยละ 50) สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) (น้ำหนักร้อยละ 50) สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล แจ้งผลสถานะการบริหารจัดการองค์การ ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ค. ก.พ. มิ.ย. ส.ค. มี.ค. ก.ค.
KPI 14.2 การประเมินประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เกณฑ์การให้คะแนน
KPI 14.2 คำอธิบายเพิ่มเติมในการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ
KPI 14.2 คำอธิบายเพิ่มเติมในการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ
แนวทางการดำเนินการ KPI 15: ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ After ผลการสำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (ด้านการพัฒนาองค์การ) Before สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) แจ้งผลสถานะการบริหารจัดการองค์การ ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาองค์การ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ค. ก.พ. มิ.ย. ส.ค. มี.ค. ก.ค.
แบบสำรวจการพัฒนาองค์การโดยระบบออนไลน์ ระบบการสำรวจการพัฒนาองค์การ (Survey Online) ทางเว็บไซต์ www.opdc.go.th/ges
แบบรายงานผลการสำรวจการพัฒนาองค์การโดยระบบออนไลน์ Username และ Password1 ชุด/กรม ระบบการแสดงผลการสำรวจการพัฒนาองค์การองค์การ ทางเว็บไซต์ www.opdc.go.th/ges/admin.php
การทดสอบระบบและการสำรวจ ครั้งที่ 1 ทดสอบระบบ • ระหว่างวันที่ 29 ก.ย. – 4 ต.ค. 54 • ส่วนราชการร่วมทดสอบ 30 แห่ง • ผู้เข้าตอบแบบสำรวจ 885 คน สำรวจครั้งที่ 1 • ระหว่างวันที่ 1 – 15 ธ.ค. 54 • ส่วนราชการ 144 แห่ง • ผู้เข้าตอบแบบสำรวจ 55,184 คน สำรวจครั้งที่ 2 • ระหว่างวันที่ 15 – 30 พ.ย. 55
จำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ 55,184 คน
ค่าเฉลี่ยของส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญในภาพรวมค่าเฉลี่ยของส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญในภาพรวม กรณีใช้เกณฑ์เดิม ค่าเฉลี่ย Gap ด้านสารสนเทศ = 0.3765 ค่าเฉลี่ย Gap ด้านบรรยากาศภายในองค์การ = 0.3765
การปรับเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดที่ 14.1 และ 15 การปรับเกณฑ์โดยใช้การเปรียบเทียบ Gapจากการสำรวจการพัฒนาองค์การครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 กรณีที่ 1 : Gap ครั้งที่ 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.3 กรณีที่ 2: Gap ครั้งที่ 1 มากกว่า 0.3 มติคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในการประชุมครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2554
ปฏิทินในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ผลประเมินภาพรวม มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ รอบที่ 1
ผลภาพรวมการประเมินสมรรถนะของบุคลากรผลภาพรวมการประเมินสมรรถนะของบุคลากร รอบที่ 1 (กันยายน 2554)
สมรรถนะรวมเฉลี่ย รายกระทรวง(สมรรถหลักและสมรรถนะในสายอาชีพ) คะแนนจากมากไปน้อย ค่าเฉลี่ย 86.74 ข้อมูล ณ วันที่ 8 ก.พ. 55
สมรรถนะหลักเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 86.79 คะแนนจากมากไปน้อย ข้อมูล ณ วันที่ 8 ก.พ. 55
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ (ภาพรวม)Survey Onlineด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ ระดับ “Gap” ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.3 ความเห็น ความสำคัญ Gap ระดับ Gap จากมากไปน้อย Gap รายข้อ Gap รายด้าน
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ (ภาพรวม)Survey Onlineด้านบรรยากาศภายในองค์การ
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ ระดับ “Gap” ด้านบรรยากาศภายในองค์การ ระดับ Gap จากมากไปน้อย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.3 ความเห็น ความสำคัญ Gap
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ ระดับ “Gap” ด้านบรรยากาศภายในองค์การ ระดับ Gap จากมากไปน้อย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.3 Gap รายด้าน
ผลประเมิน มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ (รอบที่1) กรมควบคุมโรค
ผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากรผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากร รอบที่ 1 (กันยายน 2554) กรมควบคุมโรค
สมรรถนะหลักเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 83.40 คะแนนจากมากไปน้อย
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การSurvey Onlineกรมควบคุมโรค
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง 492คน
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การSurvey Onlineด้านบรรยากาศภายในองค์กร
ระดับ “GAP” ต่อบรรยากาศในองค์การ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.5 ระดับ “GAP” จากมากไปน้อย ความเห็น ความสำคัญ Gap
ระดับ “GAP” ต่อบรรยากาศในองค์การ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.5 ระดับ “GAP” จากมากไปน้อย
ผลการวิเคราะห์ “GAP” ต่อบรรยากาศในองค์การ Culture KM เข้าใจทิศทาง/กลยุทธ์ มีความภูมิใจในองค์กร งานท้าทาย ได้เรียนรู้/ประสบการณ์ สามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชาได้ มีการนำองค์ความรู้ จาก KM มาพัฒนางาน มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ มีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ มีความภูมิใจที่ทำงานได้สำเร็จ เชื่อมั่นว่าผู้รับบริการได้รับบริการดีที่สุด Teamwork ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานเห็นคุณค่างาน ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม สภาพแวดล้อมทำให้ทำงานอย่างมีความสุข การทำงานไม่ทำให้เกิดปัญหาเวลาส่วนตัว ไม่มีการล่วงละเมิดทางเพศ สามารถกำหนดแผนการทำงานได้ มีโอกาสแสดงความคิดเห็น เชื่อมั่นว่าส่วนราชการจะดำเนินงานได้สำเร็จ Personal Contribution ผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชาสนใจความคิดเห็น มีความสุขกับการทำงาน เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานเพื่อให้งานสำเร็จ Leadership ทำงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ส่วนราชการมีความซื่อตรง ไม่ทุจริต เชื่อมั่นว่าผู้บริหารมีความยุติธรรม
ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การSurvey Onlineด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ