700 likes | 1.13k Views
การตรวจสอบภายในภาคราชการ. สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง. การตรวจสอบภายในภาคราชการ. หลักการและแนวคิด ระเบียบการตรวจสอบภายใน มาตรฐานการตรวจสอบภายใน. หลักการและแนวคิด. ปัจจัย แห่งความสำเร็จ. ความสำคัญ. ความหมาย และวัตถุประสงค์. ความ คาดหวัง และ ภาพลักษณ์ ใหม่.
E N D
การตรวจสอบภายในภาคราชการการตรวจสอบภายในภาคราชการ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
การตรวจสอบภายในภาคราชการการตรวจสอบภายในภาคราชการ • หลักการและแนวคิด • ระเบียบการตรวจสอบภายใน • มาตรฐานการตรวจสอบภายใน
หลักการและแนวคิด ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความสำคัญ ความหมายและวัตถุประสงค์ ความคาดหวังและ ภาพลักษณ์ใหม่ ประเภทการตรวจสอบ
วางแผน (Planning) การควบคุม (Controlling) จัดองค์การ (Organizing) การใช้ภาวะผู้นำ (Leading) หลักการและแนวคิด:ความสำคัญ วงจรการบริหาร นโยบาย งบประมาณ IT วัฒนธรรมองค์การ
หน่วยงานกลาง • ผู้ตรวจราชการ • ผู้ตรวจสอบภายใน • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ควบคุม แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล แผนปฏิบัติราชการ แผนของหน่วยปฏิบัติ หลักการและแนวคิด :ความสำคัญ การบริหารราชการแผ่นดิน : การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล ?
การบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายการบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมาย ผู้ตรวจสอบภายใน • สร้างความมั่นใจต่อการปฏิบัติ ภารกิจให้บรรลุเป้าหมาย • บ่งชี้ความเสี่ยง • ลดความเสี่ยง (การควบคุม) • ปรับปรุงการปฏิบัติงาน (การกำกับดูแล) ผู้บริหาร หลักการและแนวคิด :ความสำคัญ
หลักการและแนวคิด :ความหมาย การตรวจสอบภายใน คือ อะไร การตรวจสอบภายใน คือ กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและการให้คำปรึกษา อย่างเที่ยงธรรมและเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้นเพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการให้ดีขึ้นการตรวจสอบภายในจะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ด้วยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกำกับดูแลอย่างเป็นระบบ
7 หลักการและแนวคิด : ความหมาย งานตรวจสอบภายใน เพิ่มคุณค่า ให้กับส่วนราชการ งานบริการให้ความเชื่อมั่น (Assurana Services) งานบริการให้คำปรึกษา (Consulting Services) • การประเมินผล • การบริหารความเสี่ยง • การควบคุม • การกำกับดูแลที่ดี • คำปรึกษา • คำแนะนำ
หลักการและแนวคิด : วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบภายใน คือ การปฏิบัติงานโดยอิสระปราศจากการแทรกแซงในการทำหน้าที่ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ภายในองค์กร ด้วยการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ประเมิน ให้คำปรึกษา ให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะ เพื่อสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานทุกระดับขององค์กรสมารถปฏิบัติหน้าที่และดำเนินงานเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ตรวจสอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ ผู้ตรวจสอบภายใน Input Process Output Outcome Impact ทรัพยากร ระบบงาน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มค่า ความเสี่ยง ควบคุม กำกับดูแล - ตรวจสอบ - ให้คำปรึกษา ตรวจสอบ การปฏิบัติงาน ตรวจสอบด้าน ผลการดำเนินงาน ตรวจสอบ ทางการเงิน ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ หลักการและแนวคิด : ประเภทการตรวจสอบ ตรวจสอบการบริหาร
หลักการและแนวคิด : ประเภทการตรวจสอบ การตรวจสอบทางการเงิน (FINANCIAL AUDITING) การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (COMPLIANCE AUDITING) การตรวจสอบการปฏิบัติงาน (OPERATIONAL AUDITING) การตรวจสอบผลการดำเนินงาน (PERFORMANCEAUDITING) การตรวจสอบการบริหาร (MANAGEMENT AUDITING) การตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ (INFORMATION TECHNOLOGY AUDITING)
หลักการและแนวคิด : ความหมายแต่ละประเภท การตรวจสอบทางการเงิน (FINANCIAL AUDITING) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูลรายงานทางการเงินและตัวเลขต่างๆ ทางการเงิน การบัญชี และรวมทั้งการดูแลป้องกันทรัพย์สิน ว่ามีความถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (COMPLIANCE AUDITING) เป็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานต่างๆ ของส่วนราชการว่าเป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร การตรวจสอบการปฏิบัติงาน (OPERATIONAL AUDITING) เป็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ระบบงาน ตลอดจนวิธีปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรมตามที่ฝ่ายบริหารกำหนดไว้ เพื่อประเมินระบบการควบคุมภายใน และประเมินคุณภาพของการดำเนินงานว่าแต่ละหน่วยงานมีระบบการควบคุมภายในที่ดีและการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักการและแนวคิด :ความหมายแต่ละประเภท การตรวจสอบผลการดำเนินงาน (PERFORMANCEAUDITING) เป็นการตรวจสอบผลการดำเนินงานตามแผนงาน และโครงการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า เป็นการตรวจสอบการบริหารงานด้านต่างๆขององค์กรว่ามีระบบการบริหารจัดการเกี่ยวกับการวางแผน การควบคุม และการประเมินผล เกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การบริหารการเงิน การบริหารพัสดุและทรัพย์สิน รวมทั้งการบริหารงานด้านต่างๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจ การตรวจสอบการบริหาร (MANAGEMENT AUDITING) การตรวจสอบสารสนเทศ (INFORMATION TECHNOLOGY AUDITING) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของระบบงาน และข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ รวมทั้งระบบการเข้าถึงข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขและการเก็บรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
14 หลักการและแนวคิด :ความคาดหวัง ความคาดหวัง • ช่วยผู้ปฏิบัติงานในองค์กร • ส่งเสริมให้เกิดการควบคุมที่เหมาะสม • ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการที่ดี • ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการปฏิบัติงาน • เป็นมาตรการถ่วงดุลอำนาจ • เป็นสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า
15 หลักการและแนวคิด :ภาพลักษณ์ใหม่ ตั้งรับ เชิงรุก หาข้อบกพร่อง ดูให้มั่นใจว่าถูกต้อง ความผิดพลาดทีเกิดขึ้น โอกาสที่จะปรับปรุงให้ดีขึ้น เน้นการควบคุมและประสิทธิภาพ เน้นควบคุม แต่เพิ่มงาน ตรวจตามลักษณะหน่วยงาน ตรวจตามความเสี่ยง ดูทุกเรื่องไม่เลือกเล็กหรือใหญ่ ดูแต่เรื่องที่สำคัญ ยาม ตำรวจ เพื่อนร่วมงาน ต่างคนต่างทำ ทำงานเป็นทีม (TEAM) อาศัยประสบการณ์/ความสามารถพิเศษ พัฒนางานให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ผู้ตรวจสอบ ภายใน หลักการและแนวคิด : ปัจจัยแห่งความสำเร็จ หัวหน้าส่วนราชการ หน่วยรับตรวจ หน่วยงานกลาง โครงสร้าง/สถานภาพ
หัวหน้า ส่วนราชการ ผู้ตรวจสอบ ภายใน หน่วย รับตรวจ หน่วยงานกลาง ( บ.ก. ก.พ. ก.พ.ร. ) หลักการและแนวคิด : ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ให้ความเชื่อมั่น มีคุณสมบัติเหมาะสม ปฏิบัติตามระเบียบ มาตรฐาน จริยธรรม ให้ความสำคัญ การสนับสนุน ความร่วมมือ กำหนดหลักเกณฑ์สนับสนุนการปฏิบัติงานของ ผสน.
หัวหน้าส่วนราชการ ผู้ตรวจสอบภายใน หลักการและแนวคิด : ปัจจัยแห่งความสำเร็จ โครงสร้าง/สถานภาพที่เหมาะสม สิทธิที่จะเข้าถึง เสรีภาพในการตรวจสอบ ไม่มีส่วนได้เสีย
19 หลักการและความเป็นมา : วิวัฒนาการ • ระเบียบฯ ปี 2542 • มาตรฐานการตรวจสอบภายใน • ปี 2545 • คณะกรรมการตรวจสอบ • ภาคราชการ • มาตรฐานการตรวจสอบภายใน • จริยธรรมของผู้ตรวจสอบภายใน • มาตรฐานการตรวจสอบภายใน • ปี 2554 • การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ • แนวทางการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ พ.ศ.2555 2554-ปัจจุบัน • ระเบียบเบิกจ่ายฯ พ.ศ.2505 • ระเบียบการรับจ่าย • การเก็บรักษาเงินฯ พ.ศ.2516 • มติ ครม. 17 ส.ค.2519 2548-2553 การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ การเสริมสร้างคุณภาพงานตรวจสอบภายใน 2542 -2547 • ระเบียบฯ ปี 2551 • โครงการเสริมสร้างคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ • ตัวชี้วัดด้านการตรวจสอบภายใน มาตรการ เพิ่มประสิทธิภาพ 2533 - 2541 การพัฒนางานตรวจสอบภายใน 2520 - 2532 2505 - 2519 การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน • ระเบียบเก็บรักษาเงินฯ พ.ศ.2520 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการ • ตรวจสอบภายในของส่วยราชการพ.ศ. 2532 การแต่งตั้งผู้ตรวจสอบภายใน
ระเบียบกระทรวงการคลังระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551
21 ระเบียบการตรวจสอบภายใน : โครงสร้าง ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 หลักการ หมวด 1 ความทั่วไป หมวด 2 หน้าที่ความรับผิดชอบ หมวด 3 หน่วยรับตรวจ หมวด 4 เบ็ดเตล็ด • - การบังคับใช้ • ระเบียบ • คำศัพท์ • การรักษาการ • ตามระเบียบ • - สายการบังคับ • บัญชา • - ความเป็นอิสระ • - การเข้าถึงข้อมูล • หน่วยงานที่ • รับผิดชอบ • - จ้างผู้เชี่ยวชาญ • การตรวจสอบของ • กระทรวงกลาโหม • การจัดทำมาตรฐาน • คู่มือ แนวปฏิบัติ • ปัญหาตามระเบียบ - หน้าที่ความ รับผิดชอบ • หน้าที่ความ • รับผิดชอบ • ขอบเขตงาน
22 ระเบียบการตรวจสอบภายใน : หลักการ คำศัพท์ ส่วนราชการ กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า และจังหวัด แต่ไม่รวมถึงรัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง อธิบดี หรือหัวหน้าของส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าและผู้ว่าราชการจังหวัด หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานที่รับผิดชอบงานตรวจภายในของส่วนราชการตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ หน่วยรับตรวจ หน่วยงานที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของส่วนราชการ
23 ระเบียบการตรวจสอบภายใน : ความทั่วไป สายการบังคับบัญชาและหน่วยงานที่รับผิดชอบ ผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวง ผู้ตรวจสอบภายใน กรม ผู้ตรวจสอบภายใน จังหวัด ขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวง ตรวจสอบส่วนราชการใน สังกัดกระทรวง ขึ้นตรงต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ตรวจสอบราชการบริหาร ส่วนภูมิภาค ขึ้นตงต่อหัวหน้าส่วนราชการ ตรวจสอบราชการบริหาร ส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ต่างประเทศ
24 ระเบียบการตรวจสอบภายใน : ความทั่วไป (ต่อ) โครงสร้างและสายการบังคับบัญชาของผู้ตรวจสอบภายใน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง/ รัฐมนตรีช่วยฯ ผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดกระทรวง ผู้ตรวจสอบภายใน จังหวัด ผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวง ราชการใน จังหวัด ที่ขึ้นตรง ส่วนกลาง ราชการ บริหาร ส่วนภูมิภาค ราชการ บริหาร ส่วนท้องถิ่น อธิบดี อธิบดี ผู้ตรวจสอบภายใน กรม ผู้ตรวจสอบภายใน กรม สำนัก/กอง สำนัก/กอง สำนัก/กอง สำนัก/กอง
25 ระเบียบการตรวจสอบภายใน : ความทั่วไป (ต่อ) ความเป็นอิสระ ผู้ตรวจสอบภายใน • ในการปฏิบัติงาน • เสนอความเห็น ดำรงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ • ปราศจากการแทรกแซง • ไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย • ไม่เป็นกรรมการในคณะกรรมการใดๆ ที่มีผลกระทบถึงความเป็นอิสระ • มีสิทธิ์ในการเข้าถึงบุคคล ข้อมูล เอกสารหลักฐาน และทรัพย์สินต่างๆ • เข้าร่วมประชุมกับผู้บริหารในเรื่องเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินงานของ • ส่วนราชการ
26 ระเบียบการตรวจสอบภายใน : หน้าที่ความรับผิดชอบ กำหนดเป้าหมาย ทิศทาง การประกันคุณภาพ กำหนดกฎบัตร หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของผู้ตรวจสอบภายใน ติดตามผล จัดทำแผนการตรวจสอบ การรายงานผลการตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ ให้คำปรึกษา / ประสานงาน / ปฏิบัติงานอื่น ในกรณีมีความจำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ หัวหน้าส่วนราชการอาจแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมจากหน่วยงาน ภายในหรือจากผู้เชี่ยวชาญจ้างภายนอกก็ได้ โดยให้เสนอรายละเอียดการว่าจ้างให้หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติ
ระเบียบการตรวจสอบภายใน : หน้าที่ความรับผิดชอบ (ต่อ) แผนการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน หัวหน้าส่วนราชการ ส่วนราชการอื่น กรณีกระทรวง สำเนาให้หัวหน้า ส่วนราชการระดับกรม เสนอ ภายใน ก.ย. จัดทำแผนการ ตรวจสอบประจำปี พิจารณาอนุมัติแผนฯ กรณีกรม สำเนาให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด ปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนฯ สำเนาให้หัวหน้า ส่วนราชการระดับกรม กรณีกระทรวง จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ พิจารณาสั่งการตามรายงานผล การตรวจสอบ สำเนาให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด กรณีกรม เสนอ ภายในเวลา อันควร หรืออย่างน้อยทุก 2 เดือนนับจากวันที่ตรวจสอบแล้วเสร็จ สำเนาให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดของหน่วยรับตรวจ กรณีจังหวัด
28 ระเบียบการตรวจสอบภายใน : หน้าที่ความรับผิดชอบ (ต่อ) ขอบเขตการปฏิบัติงาน ประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดำเนินงาน สอบทานการปฏิบัติตามข้อกำหนด ตรวจสอบ สอบทานความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล วิเคราะห์ ตรวจสอบการดูแลรักษาทรัพย์สิน ประเมินผล ประเมินผลการดำเนินงานด้านการเงินการคลัง ประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัดและ ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร
29 ระเบียบการตรวจสอบภายใน:หน่วยรับตรวจ • อำนวยความสะดวกและให้ความร่วมมือ • จัดให้มีระบบการเก็บเอกสาร • จัดเตรียมรายละเอียดแผนงาน งาน โครงการ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง • จัดทำบัญชี รายงานทางการเงิน และจัดเก็บเอกสาร ประกอบรายการบัญชีให้เรียบร้อยเป็นปัจจุบัน • ชี้แจงตอบข้อซักถาม • ปฏิบัติตามข้อทักท้วงและข้อเสนอแนะ หน้าที่ ความรับผิดชอบ
มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ
31 มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : โครงสร้าง มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ส่วนที่ 3 คำอธิบายศัพท์ ส่วนที่ 1 มาตรฐานด้านคุณสมบัติ บทนำ ผังโครงสร้างมาตรฐาน ส่วนที่ 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ส่วนที่ 4 จริยธรรมการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน
มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : โครงสร้าง มาตรฐานด้านคุณสมบัติ มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานด้านคุณสมบัติ มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 1100 ความเป็นอิสระ และ ความเที่ยงธรรม 1200 ความเชี่ยวชาญและ ความระมัดระวัง รอบคอบ 1300 การประกันคุณภาพ และการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง 1000 วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ
34 มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 1000 วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ กฎบัตร ๑๐๑๐การกำหนดคำนิยามของการ ตรวจสอบภายใน มาตรฐาน และจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในไว้ในกฎบัตร การตรวจสอบภายใน วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ คำนิยาม มาตรฐานและจริยธรรม เป็นลายลักษณ์อักษร เห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ เผยแพร่ในส่วนราชการ
1110 * การปฏิบัติงาน * แสดงความเห็น * ขึ้นตรงต่อหัวหน้า ส่วนราชการ 1120 * ซื่อสัตย์ สุจริต * มีจริยธรรม * ไม่มีภาวะการขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ 35 มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 1100 ความเป็นอิสระและความเที่ยงธรรม ความเที่ยงธรรมของ ผู้ตรวจสอบภายใน ความเป็นอิสระภายในองค์กร ผู้ตรวจสอบภายใน ข้อจำกัดของความเป็นอิสระ หรือความเที่ยงธรรม 1130 * ไม่ประเมินงานที่ เคยมีหน้าที่มาก่อน * เปิดเผยเหตุหรือข้อจำกัด
* ด้านการตรวจสอบ * ด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง 36 มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 1200 เชี่ยวชาญและความระมัดระวังรอบคอบ 1210 ความเชี่ยวชาญ ผู้ตรวจสอบภายใน 1230 การพัฒนาวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง * ขยายขอบเขตงาน * ความซับซ้อนของงาน * ความเสี่ยง การควบคุม การกำกับดูแล * ความผิดพลาดที่สำคัญ * ค่าใช้จ่าย/ผลประโยชน์ 1220 ความระมัดระวังรอบคอบ
หน่วยงานตรวจสอบภายใน หัวหน้า ส่วนราชการ • กำกับดูแลตามสายงาน • ประเมินตนเองทุกปี CAE สาย ตรวจ สาย ตรวจ สาย ตรวจ 1312 การประเมินผลจากภายนอก องค์กร 37 มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 1300การประกันและการปรับปรุงคุณภาพงาน 1320 การรายงานผลการประเมิน การประกันและปรับปรุงคุณภาพงาน 1310 การประเมินการประกันและปรับปรุงคุณภาพงาน 1311 การประเมินผลจากภายใน * ดำเนินการได้ตาม มาตรฐานฯ 1322 * ไม่สามารถดำเนินการ ตามมาตรฐานฯ * ประเมินตนเอง * หน่วยงานที่ทำหน้าที่ประเมินผล - มีความรู้มาตรฐานการตรวจสอบภายใน • ผู้ประเมินจากภายนอกที่มีความรู้มาตรฐานการตรวจสอบภายในและอิสระ • ประเมินอย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี องค์กรภายนอก
38 มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2000 การบริหารงาน ตรวจสอบภายใน 2200 การวางแผน การปฏิบัติงาน 2600 การยอมรับ สภาพความเสี่ยง ของฝ่ายบริหาร 2400 การรายงาน ผลการปฏิบัติงาน 2100 ลักษณะของงาน ตรวจสอบภายใน 2300 การปฏิบัติงาน 2500 การติดตามผล
2010 วางแผน การตรวจสอบ 2030 บริหาร ทรัพยากร 2050 ประสานงาน 2060 รายงานผล การปฏิบัติงาน 2040 นโยบาย/แนวทางปฏิบัติงาน มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2020- การเสนอแผนและ อนุมัติแผน 2000 การบริหารงานตรวจสอบภายใน 2070 การใช้บริการตรวจสอบจากภายนอกและความรับผิดชอบของส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2010 การวางแผนการตรวจสอบ • การเสนอและอนุมัติแผนการตรวจสอบ เป้าหมาย ของส่วนราชการ วางแผน การตรวจสอบ ข้อมูล ของฝ่ายบริหาร ผลประเมิน ความเสี่ยง องค์ประกอบของแผนการตรวจสอบ * เรื่องที่จะตรวจสอบ * หน่วยรับตรวจ * ระยะเวลา * ผู้รับผิดชอบ * งบประมาณ เสนอและอนุมัติ
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน 2030 การบริหารทรัพยากร บุคลากร งบประมาณ เครื่องมือ/อุปกรณ์ • จำนวน • ความรู้ • ทักษะ • ความสามารถ • ค่าใช้จ่ายเดินทาง • ค่าอบรม/สัมมนา • ค่าวัสดุ/ครุภัณฑ์ • ค่าใช้จ่ายอื่นๆ • วัสดุ • ครุภัณฑ์ • เครื่องคอมพิวเตอร์ • อื่นๆ • แผนงบประมาณ • แผนการใช้จ่ายเงิน • ความจำเป็น • ลักษณะการปฏิบัติงาน • โครงสร้างหน่วยงาน ตส. • Job description • แผนการฝึกอบรมของ ตส.
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2040 นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงาน รูปแบบ Formal Informal นโยบาย/แนวทาง/ขั้นตอน นโยบาย คู่มือ/แนวปฏิบัติ เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมาย เพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย
สตง. • แผนการตรวจสอบ • รายงานผลการตรวจสอบ อธิบดี กรมบัญชีกลาง สนง.ก.พ.ร. สนง. ก.พ. องค์กร ตส หน่วยงาน กลาง • การปฏิบัติงาน • โครงสร้างองค์กร • อัตรากำลัง สำนัก กอง คตป. ตส.กระทรวง • กฎบัตร • การประเมินตนเอง • แผนการตรวจสอบ • รายงานผลการตรวจสอบ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2050 การประสานงาน ภายในองค์กร ภายนอกองค์กร
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2060 การรายงานผลการปฏิบัติงาน รูปแบบ Formal Informal การรายงาน ผลการตรวจสอบ สรุปผล การปฏิบัติงาน
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2070 การใช้บริการตรวจสอบภายนอกและความรับผิดชอบของส่วนราชการ กรณีที่ใช้บริการตรวจสอบภายในจากภายนอกหน่วยงาน ส่วนราชการต้องรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานโดยพิจารณาจากการประเมินการประกันและปรับปรุงคุณภาพงาน
เพิ่มคุณค่า ให้กับส่วนราชการ การให้ความเชื่อมั่น การให้คำปรึกษา • 2110 การกำกับดูแลที่ดี • 2120 การบริหารความเสี่ยง • 2130 การควบคุม • คำแนะนำ • คำปรึกษา มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2100 ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน
47 มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน (ต่อ) * ประเมินและเสนอแนะการปรับปรุงกระบวนการกำกับดูแล เพื่อวัตถุประสงค์ - เสริมสร้างจริยธรรมและคุณค่าขององค์กร - การบริหารจัดการที่มีประสิทธิผล/ผู้ปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบ - สื่อสารความเสี่ยงและการควบคุม - ประสานงานและสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้ตรวจสอบภายในและภายนอก และฝ่ายบริหาร 2110 การกำกับดูแล การบริหาร ความเสี่ยง • * ประเมินและสนับสนุนให้ปรับปรุงการะบวนการบริหารความเสี่ยง • * ประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับการกำกับดูแล การดำเนินงาน และวางแผน • ข้อมูลสารสนเทศ ในเรื่อง • - ถูกต้อง เชื่อถือของข้อมูล • - ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ • - การป้องกันทรัพย์สิน • - การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน (ต่อ) 2130 การควบคุม • * ประเมินและสนับสนุนให้มีการปรับปรุงการควบคุมอย่างเหมาะสม • และเพียงพอ • * ให้การควบคุมที่มีอยู่สามารถตอบสนองความเสี่ยงภายใต้การ กำกับดูแล • การดำเนินงาน และระบบข้อมูลสารสนเทศในเรื่อง • - ประเมินความเพียงพอและเหมาะสมของการควบคุม • - สอบทานเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงาน • - สอบทานแผนงานและการปฏิบัติงาน • - สอบทานเกณฑ์การปฏิบัติงาน
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2200 การวางแผนการปฏิบัติงาน 2201 ข้อพิจารณาในการวางแผน • จัดทำตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย คำนึงถึง - วัตถุประสงค์/วิธีการดำเนินงาน - ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง และการควบคุม - โอกาสการปรับปรุงกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง และระบบการควบคุม
มาตรฐานการตรวจสอบภายใน : มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2200 การวางแผนการปฏิบัติงาน 2210 กำหนด วัตถุประสงค์ 2220 กำหนดขอบเขต การปฏิบัติงาน 2230 การจัดสรร ทรัพยากร 2240 กำหนดแผน การปฏิบัติงาน