660 likes | 886 Views
มาตรฐานบริการพยาบาล ศูนย์อุบัติเหตุ และหลักเกณฑ์ แนวทางการจัดบริการฯ. อัมภา ศรารัชต์ สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. เป้าหมายและหน้าที่หลักของศูนย์อุบัติเหตุ. ศูนย์การวิจัยและพัฒนา. - คุณภาพการดูแล - บริการที่เป็นเลิศ - ความคุ้มค่า. ศูนย์บริการรักษาพยาบาล
E N D
มาตรฐานบริการพยาบาล ศูนย์อุบัติเหตุ และหลักเกณฑ์ แนวทางการจัดบริการฯ อัมภา ศรารัชต์ สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายและหน้าที่หลักของศูนย์อุบัติเหตุเป้าหมายและหน้าที่หลักของศูนย์อุบัติเหตุ ศูนย์การวิจัยและพัฒนา - คุณภาพการดูแล - บริการที่เป็นเลิศ - ความคุ้มค่า ศูนย์บริการรักษาพยาบาล ที่ครบวงจรและต่อเนื่อง ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้และ เทคโนโลยีในการรักษาพยาบาล
องค์ประกอบสำคัญของการให้บริการองค์ประกอบสำคัญของการให้บริการ 1. บุคลากร 1.1 ระดับบริหาร 1.2 ระดับปฏิบัติการ 2. อาคารสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ 3. ระบบบริหารจัดการ 3.1 One Stop Service 3.2 Timing Management 3.3 Online Service 3.4 Team and Networking
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง 1. ผลลัพธ์ต่อผู้ป่วย - การเข้าถึงบริการง่าย/ทั่วถึง/เสมอภาค - คุณภาพการรักษาพยาบาลเป็นเลิศ - ความพึงพอใจและประทับใจ - คุณภาพชีวิตดีขึ้น/อายุขัยยืนยาวขึ้น
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง (ต่อ) 2.ผลลัพธ์ต่อหน่วยงาน - ระบบการดูแลมีประสิทธิภาพมากขึ้น - มีการประกันคุณภาพการรักษาพยาบาล - บุคลากรมีความพึงพอใจ และมีความสุขใน การทำงาน - บุคลากรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มขึ้น - ต้นทุน/ความคุ้มค่า - ได้รับการยอมรับ เป็นแบบอย่างที่ดี
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง(ต่อ)ผลลัพธ์ที่คาดหวัง(ต่อ) 3. ผลลัพธ์ต่อประเทศ - อัตราเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากอุบัติเหตุ ลดลง - อัตราการรอดชีวิตเพิ่มขึ้น - อัตราตายและทุพพลภาพลดลง - การบริหารทรัพยากรสุขภาพคุ้มค่า - อัตราการลาออกของบุคลากรสุขภาพลดลง
กรอบแนวคิดในการกำหนดองค์ประกอบของมาตรฐานบริการพยาบาล ศูนย์อุบัติเหตุ 1. Baldrige National Quality Program - Health Care Criteria for Performance Excellence - Thailand Quality Award (TQA) 2. Magnet Hospitals (Award) : American Nurses’ Credentialing Center (ANCC) (เกณฑ์รางวัลคุณภาพ Excellent Nursing Service)
หลักปฏิบัติที่สำคัญ การพยาบาลแบบองค์รวม เน้น การเพิ่มความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของบุคคล หลักจริยธรรม และการตัดสินใจเชิงจริยธรรม - การปฏิบัติดี ถูกต้อง เหมาะสม คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยตลอดเวลา ทุกระยะของการเจ็บป่วย - การช่วยให้ผู้ป่วยมีอำนาจในการตัดสินใจ - กรณีผู้ป่วยไม่สามารถคิด ตัดสินใจ ได้ด้วยตนเอง - ความยุติธรรม ในการให้การพยาบาล และใช้แหล่งประโยชน์ - ความซื่อสัตย์ ยึดมั่นที่จะปฏิบัติการพยาบาลให้ดีที่สุด เต็มความสามารถ
หลักปฏิบัติที่สำคัญ (ต่อ) การเฝ้าระวัง ติดตาม ด้วยความเฝ้าระมัด ระวัง รอบคอบ ไม่ประมาท (Vigilance) เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจทางการพยาบาลในกระบวนการพยาบาลทุกขั้นตอน ประกอบด้วย การให้ความหมาย การคาดการณ์ การประเมิน/คำนวณความเสี่ยง ความพร้อมที่จะปฏิบัติงาน การติดตามผล การช่วยเหลือการปรับตัวต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วยและญาติ ประกอบด้วยการประเมินการบาดเจ็บ การให้ความหมาย ความคาดหวังต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ความสามารถในการเผชิญปัญหา การประเมินสิ่งแวดล้อม แหล่งประโยชน์ และการวางแผนเผชิญปัญหาของผู้ป่วยและญาติ การวางแผนร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการเผชิญปัญหา และการวางแผนการประเมินผล
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย การวางแผน 2 เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น 5 ทรัพยากรบุคคล ผลลัพธ์ 7 ขององค์กร การนำองค์กร 1 การมุ่งเน้นที่ 3 ผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ การจัดการ 6 กระบวนการดูแล การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4 กรอบแนวคิดในการกำหนดองค์ประกอบของมาตรฐานบริการพยาบาล
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย (หรือลักษณะสำคัญขององค์กร) หมายถึง ภาพรวมในปัจจุบันขององค์กร (การพยาบาลศูนย์อุบัติเหตุ)/หน่วยงาน สิ่งที่สำคัญที่มีผลต่อการดำเนินงาน และความท้าทายที่เผชิญอยู่ การทำความเข้าใจกับองค์กร/หน่วยงานของตนเองจะนำไปสู่การวิเคราะห์องค์กร/หน่วยงานอย่างชัดเจน และการกำหนดแผนการพัฒนาคุณภาพที่ชัดเจนขึ้น
วัตถุประสงค์ (ทำไมต้องมีลักษณะสำคัญขององค์กร) เพื่อ ทำความเข้าใจกับภาพรวมขององค์กร / หน่วยงานของตนเอง ทำให้เข้าใจว่า ทำไมต้องมีหน่วยงาน/องค์กรของเราด้วย ทบทวนข้อมูลสำคัญที่อาจขาดหายไป ที่จะทำให้เกิดความสำเร็จในการดำเนินงาน และผลลัพธ์ของการดำเนินงาน เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับใช้ในการวิเคราะห์องค์กร/หน่วยงานของเรา
องค์ประกอบ ลักษณะองค์กร/หน่วยงาน ประกอบด้วยลักษณะพื้นฐาน และความสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร/หน่วยงาน ความท้าทายต่อองค์กร/หน่วยงาน ประกอบด้วย สภาพการแข่งขันความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ และ ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย หรือลักษณะองค์กร/หน่วยงาน ประเด็นสำคัญ ประกอบด้วย ลักษณะพื้นฐานขององค์กร/ หน่วยงาน เพื่อให้รู้จักตัวเอง และสภาพแวดล้อม 1.1 บริการที่เราให้มีอะไรบ้าง มีวิธีการให้บริการอย่างไรบ้าง เช่น บริการรักษาพยาบาลที่หน่วยงาน นอกหน่วยงาน (อย่างไร เช่น ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง โดยกำหนดผลัดการทำงาน...... เป็นต้น) เป็นต้น1.2 ผู้รับ/ใช้บริการ มีใครบ้าง (ควรสัมพันธ์กับข้อ 1.1 ด้วย)
ประกอบด้วย ลักษณะพื้นฐานขององค์กร/ หน่วยงาน เพื่อให้รู้จักตัวเอง และสภาพแวดล้อม 1.3 ที่ให้บริการตามข้อ 1.1 เนื่องจากมีภารกิจ/พันธกิจ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย อะไร อย่างไรบ้าง1.4 มีหลักคิด และ (ต้องการให้)มีพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง (คือวัฒนธรรม ค่านิยม) เช่น ปฏิบัติงาน โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม ของวิชาชีพ การทำงานเป็นทีม การใช้แนวคิดการดูแลตนเองเป็นหลักในการปฏิบัติงาน เป็นต้น โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย หรือ ลักษณะองค์กร/หน่วยงาน
ลักษณะพื้นฐานขององค์กร/ หน่วยงาน เพื่อให้รู้จักตัวเอง และสภาพแวดล้อม 1.5 ใครบ้างเป็นผู้ปฏิบัติงาน (คุณสมบัติพื้นฐาน และคุณสมบัติเฉพาะขององค์กร/หน่วยงาน) ที่ควรเป็น (กำหนดเอาไว้) ซึ่งต้องสอดคล้องกับบทบาท ภารกิจ และเป้าหมายขององค์กร/หน่วยงาน1.6 ผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่ที่เป็นจริงเป็นอย่างไร (ปริมาณ และคุณสมบัติ เทียบกับข้อ 1.4)1.7 อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้บริการ สิ่งอำนวยความสะดวก และเทคโนโลยีที่ใช้ในการให้บริการสิ่งอำนวยความสะดวก แหล่งประโยชน์ เป็นต้น 1.8 กฏระเบียบ และมาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติที่ใช้ มีอะไรบ้าง เป็นสิ่งที่กำหนดเอง หรือใช้ของใคร หรือปรับจากของใคร (รวมจรรยาบรรณวิชาชีพ) โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย หรือ ลักษณะองค์กร/หน่วยงาน
ความสัมพันธ์ภายใน และภายนอกองค์กร ประกอบด้วย2.1 โครงสร้างและวิธีการจัดการที่แสดงถึงการกำกับตัวเองที่ดี - มีโครงสร้างอย่างไร รวมบทบาทหน้าที่ในโครงสร้าง (ช่วยทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายได้ ตามวิสัยทัศน์ พันธกิจที่กำหนด) รวมความสัมพันธ์กับองค์กร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างไร - มีวิธีการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบการทำงานให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด รวมถึงความโปร่งใส ตรวจสอบได้2.2 มีการสื่อสาร ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างไร ประกอบด้วย ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่น แนวทางการสื่อสารภายใน และภายนอกหน่วยงาน
สภาพการแข่งขัน 1.1 ประเด็นการแข่งขัน (Benchmark) คืออะไร ผลการดำเนินงานเมื่อเทียบกับคู่แข่งเป็นอย่างไร1.2 ปัจจัยที่จะทำให้ประสบความสำเร็จคืออะไรบ้าง1.3 ข้อมูลที่เปรียบเทียบการแข่งขันมีอะไรบ้าง (มาจากตัวชี้วัดอะไรบ้าง) ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ มี 3 ด้าน คือ ความท้าทายตามพันธกิจ ด้านปฏิบัติการ และด้านทรัพยากรบุคคล2.1 ความท้าทายตามพันธกิจ พันธกิจที่มีอยู่พันธกิจใดที่ท้าทาย (มีอุปสรรค) ที่จะทำให้บรรลุวิสัยทัศน์ได้ 2.2 ความท้าทายด้านปฏิบัติการ กระบวนการปฏิบัติงานใดที่ควรแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เช่น การใช้ IT ในการปฏิบัติงาน การลดขั้นตอนการทำงาน เป็นต้น2.3 ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล กระบวนการพัฒนาบุคลากรที่จะทำให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายได้ สามารถใช้ทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย หรือ ลักษณะองค์กร/หน่วยงาน
ความท้าทายต่อองค์กร 3. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน 3.1 องค์กร/หน่วยงานใช้ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงานอะไรบ้าง เช่น QATQA เป็นต้น 3.2 องค์กร/หน่วยงาน มีการเรียนรู้ มีแนวทางการเรียนรู้ และ แลกเปลี่ยนความรู้อย่างไรบ้าง โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย หรือ ลักษณะองค์กร/หน่วยงาน
การจำแนกระดับศูนย์อุบัติเหตุการจำแนกระดับศูนย์อุบัติเหตุ ระดับ 1Comprehensive Care สถานฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทาง แม่ข่ายในระบบการควบคุมอุบัติเหตุในภูมิภาค (โรงเรียนแพทย์) ระดับ 2Major Care แม่ข่ายรองในการควบคุมอุบัติเหตุในอนุภูมิภาค (รพศ.) ระดับ 3General Care เครือข่ายในระบบการควบคุมอุบัติเหตุในอนุภูมิภาค ระดับ 4Basic Care เครือข่ายในระบบการควบคุมอุบัติเหตุในท้องถิ่น
ขอบเขตการบริการพยาบาลของศูนย์อุบัติเหตุขอบเขตการบริการพยาบาลของศูนย์อุบัติเหตุ การป้องกัน การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ การบริการพยาบาลอุบัติเหตุ ฉุกเฉินที่ ER การบริการพยาบาลผู้ป่วยหนัก (อุบัติเหตุ) การบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุ การบริการดูแลต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ของหลักเกณฑ์และแนวทางฯวัตถุประสงค์ของหลักเกณฑ์และแนวทางฯ ปรับปรุงระบบบริการพยาบาล Trauma Center ให้มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน ครอบคลุมการป้องกัน บำบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ มากกว่า คำว่า Trauma Center
แนวคิดทฤษฏีระบบ การบริหารจัดการที่ดีของญาติผู้ดูแลและครอบครัว - ภาวะสุขภาพ- คุณภาพชีวิต- การดูแลตนเอง- ไม่มีภาวะ- แทรกซ้อน- ไม่มี readmission ใน 28 วัน การบริหารจัดการที่ดีของหัวหน้างาน ป้องกันอุบัติเหตุ, EMS, ER, ICU, Trauma ward, PCU กรรมการบริหาร Trauma Center และผู้บริหารการบริการพยาบาล Trauma ที่ดี การบริหารจัดการที่ดีของคณะกรรมการบริหาร Trauma Center และผู้บริหารการบริการพยาบาล Trauma Center
การดำเนินงานตามหลักเกณฑ์และแนวทางการจัดบริการตามมาตรฐานบริการพยาบาล สำหรับ Trauma Center ดีที่สุด ผลลัพธ์ที่ดีกว่า ปรับปรุง-ประยุกต์ ตรวจสอบ-ยกระดับ หลักฐานเชิงประจักษ์การจัดการความรู้ 4วัดและประเมินผล 7 ปฏิบัติตามมาตรฐาน เป้าหมาย ปรับปรุง/พัฒนาต่อเนื่อง ผลงาน หลักฐานเชิงประจักษ์การจัดการความรู้ 1.ภาวะผู้นำ หน่วยงาน2. แผนปฏิบัติระดับ หน่วยงาน3. การยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง5. พัฒนาบทบาทผู้ปฏิบัติงาน6. พัฒนาระบบบริหารและ ระบบปฏิบัติงาน กำหนด /พัฒนามาตรฐาน 1. ภาวะผู้นำ/การนำองค์กร2. การวางแผนกลยุทธ3. การมุ่งเน้นผู้ป่วย5. การพัฒนาบุคลากร
องค์ประกอบสำคัญ 7 ด้าน 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนกลยุทธ์ 3. การมุ่งเน้นที่ผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ (ระบบบริหาร นำองค์กร สู่ผลสัมฤทธิ์ : Leadership triad) 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (การปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง : Fact-based system) 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการกระบวนการดูแล 7.ผลลัพธ์ขององค์กร (ปัจจัยสนับสนุนและกระบวนการให้เกิดผลลัพธ์ : Result triad)
มาตรฐานบริการพยาบาล ศูนย์อุบัติเหตุ มาตรฐานที่ 1 การนำองค์กร (Leadership) มาตรฐานที่2 การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) มาตรฐานที่ 3 การมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้ใช้บริการ (Focus on Patients and other customers) มาตรฐานที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis and knowledge management) มาตรฐานที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Staff Focus) มาตรฐานที่ 6 การจัดการกระบวนการดูแล (Care Process Management) มาตรฐานที่ 7 ผลลัพธ์ขององค์กร (Organizational Performance Results)
วัตถุประสงค์ของการกำหนดมาตรฐานวัตถุประสงค์ของการกำหนดมาตรฐาน 1. ใช้เป็นแนวทางการจัดระบบบริการพยาบาล เพื่อเตรียมความพร้อม สู่ความเป็นเลิศ 2. ใช้เป็นเกณฑ์การประเมินคุณภาพการจัดระบบ บริการพยาบาล และพัฒนาส่วนขาด/ข้อจำกัด
โครงสร้างของมาตรฐาน 1. หัวข้อมาตรฐาน 2. ข้อความมาตรฐาน 3. เกณฑ์มาตรฐาน 4. คำอธิบายแนบท้ายมาตรฐาน
มาตรฐานที่ 1 การนำองค์กร ผู้บริหารทางการพยาบาลรับผิดชอบการจัดระบบ บริการพยาบาลในศูนย์ฯ ที่มีคุณภาพ เกณฑ์ 1.1 เป็นกรรมการบริหารของศูนย์ 1.2 กำหนดเป้าหมายการจัดบริการและตัวชี้วัด 1.3 จัดโครงสร้างการบริหารของกลุ่มการพยาบาล 1.4 อำนวยการ บริการจัดการ สนับสนุน
1.5 ดำเนินงานต่าง ๆ 1) บริการอัตรากำลัง 2) กำหนดแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง 3) ติดตาม สนับสนุน ประเมินผล 4) สนับสนุนการปฏิบัติตามมาตรฐาน 5) นิเทศ สอน ให้คำปรึกษา 6) ประเมินผลการจัดโครงสร้างองค์กรและการบริหาร 1.6 วัดและประเมินผลคุณภาพ นำผลการวัดและประเมิน ไปปรับปรุงทิศทางแผนดำเนินงาน 1.7 จัดระบบสื่อสารภายในองค์กร 2 ทาง
แนวทางที่ 1 ภาวะผู้นำพยาบาล ที่นำไปสู่การนำการบริการพยาบาลศูนย์อุบัติเหตุ ภาวะผู้นำ - มีความรู้ เข้าใจงาน และขอบเขตงาน - ประเมิน คิด วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการการพัฒนาปัจจุบัน/อนาคต - มีความไวต่อการรับรู้ปัญหา ความต้องการ - ริเริ่ม แสวงหาแนวทาง เกาะติดการแก้ไขปัญหาอย่างเหนียวแน่น - มีหลักการ เหตุผล เชื่อมั่นในตนเอง กล้าตัดสินใจ - มีความรับผิดชอบสูง - ยินดีรับภาระมากกว่าบุคคลอื่น - มีพลังสูง กระตือรือร้น - ทนต่อความเครียด การนำการพยาบาล - กำหนดภาพการพัฒนา ปัจจุบัน และอนาคต คิดริเริ่มวิธีการที่จะไปให้ถึง (หน้า 28-33) - สื่อสาร ถ่ายทอดแนวคิด ปลูกฝังค่านิยมให้บุคลากร - สร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางการพยาบาล - เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติให้เป็นผลอย่างจริงจัง เป็นรูปธรรม
การนำองค์กร กำหนดปรัชญา / ค่านิยม (ตัวอย่างหน้า 24-25) กำหนดวิสัยทัศน์ (หน้า 26)พันธกิจ (หน้า 26-27) กำหนดเป้าหมาย / ขอบเขต กำหนดประเด็นในการพัฒนา (หน้า 28-33)
มาตรฐานที่ 2 การวางแผนกลยุทธ์ ….. กำหนดแผนและวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ชัดเจน เพียงพอต่อการกำหนดแผนปฏิบัติการเพื่อนำสู่ความสำเร็จ ตามเป้าหมาย เกณฑ์ 2.1 กำหนดแผนครอบคลุม สอดคล้องกับนโยบาย เป้าหมาย 2.2 กำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และระยะเวลาบรรลุผล 2.3 จัดทำแผนปฏิบัติการร่วมกันทุกหน่วย 2.4 สนับสนุนและติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผน 2.5 ทบทวนและประสานแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ
แนวทางที่ 2 การวางแผนกลยุทธ (ตัวอย่าง) วิเคราะห์ข้อจำกัด สถานการณ์ท้าทายปัญหา อัตรากำลังพยาบาล- ขาดจำนวนพยาบาล- ขาดพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ สถานการณ์ ขาดแพทย์ผู้เชี่ยวชาญปัญหาการรับ refer เพิ่มขึ้นจำนวนอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น ขาดการประสานงานเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่อง ระหว่างหน่วยงานภายใน ERORICUwardPCU
หาวิธีการ แก้ไขปัญหารากฐาน • เสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำการพยาบาลศูนย์อุบัติเหตุ และหน่วยงานในศูนย์อุบัติเหตุ • กำหนดผู้รับผิดชอบพันธกิจ นโยบาย เป้าหมาย ตัวชี้วัด • สร้างความเข้มแข็งในการจัดอัตรากำลัง และทีมการพยาบาลที่เหมาะสม • พัฒนาศักยภาพบุคลากรพยาบาลทุกคนให้มีความรู้ ความชำนาญ ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง • สร้างความเข้มแข็งของการปฏิบัติการพยาบาล โดยพัฒนาแนวทาง และมาตรฐานการบริหาร และการปฏิบัติการพยาบาล
หาวิธีการ แก้ไขปัญหารากฐาน (ต่อ) • อำนวยการสนับสนุนให้หน่วยงาน และทีมการพยาบาลปฏิบัติตามเป้าหมาย นโยบาย แผนงาน แนวทางปฏิบัติ ของศูนย์อุบัติเหตุอย่างเข้มแข็ง • พัฒนา Trauma Nursing Audit สำหรับ Trauma Nursing Quality Improvement • พัฒนาระบบสารสนเทศ • เพิ่มคุณค่าของผลการปฏิบัติงาน ฯลฯ
มาตรฐานที่ 3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ ….. จัดบริการพยาบาลบนพื้นฐานของจริยธรรม และจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ดูแลแบบองค์รวม เน้นผู้ป่วย ผู้ดูแล/ครอบครัว เป็นศูนย์กลาง เกณฑ์ 3.1 ศึกษาความต้องการ ความคาดหวัง นำไปจัดระบบบริการให้สอดคล้อง 3.2 รับฟังความคิดเห็น นำมาปรับปรุงระบบบริการ3.3 ดำเนินการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 1) ให้ข้อมูลเพียงพอต่อการตัดสินใจ 2) รักษาความลับ 3) ปกป้องผู้ป่วยที่ขาด/ด้อยความสามารถในการดูแลตนเอง 4) เคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย3.4 จัดบริการพยาบาลตอบสนองอย่างเหมาะสม
แนวทางที่ 3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้ใช้บริการ การจัดบริการทุกด้าน คำนึงถึงประโยชน์ หรือความต้องการของผู้ป่วยเป็นหลัก สร้างการมีส่วนร่วมของทีมสุขภาพ ผู้ป่วย และญาติ เพื่อวางแผน การดูแลรักษา การพยาบาลให้สามารถบรรลุเป้าหมายสูงสุด ทุกระยะของการเจ็บป่วย วิเคราะห์ จัดหา ประสานแหล่งประโยชน์ ทั้งใน และนอกโรงพยาบาล ให้เอื้อต่อการฟื้นฟูสภาพ การดูแลตนเอง ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
แนวทางที่ 3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้ใช้บริการ (ต่อ) ปฏิบัติการพยาบาล โดยยึดหลักสำคัญ- กำหนดเป้าหมายสูงสุดของการดูแล รักษา พยาบาล- มีความหวัง ไม่ท้อแท้ เบื่อหน่าย ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย และครอบครัว- ให้คุณค่า ความสำคัญ ความภาคภูมิใจ ต่อบริการการปฏิบัติการพยาบาล ทีมการพยาบาล
มาตรฐานที่ 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ ….. ดำเนินการวัดและวิเคราะห์ผลการจัดบริการพยาบาล การจัดการข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ภายใน องค์กรอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เกณฑ์ 4.1 มีการประกันคุณภาพอย่างเป็นระบบ สม่ำเสมอ 4.2 ออกแบบระบบจัดการข้อมูลสารสนเทศ 4.3 ใช้ประโยชน์ข้อมูลจากการวัดและประเมิน ทบทวน เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
4.4 ใช้ผลการวัดและประเมิน ไปพัฒนาต่อเนื่อง 4.5 รายงานผลฯ ไปยังผู้บริหารระดับสูง 4.6 สื่อสารผลทั่วทั้งองค์กร 4.7 วางระบบและดำเนินการจัดการความรู้ในองค์กร 1) เตรียมทีมงานและกระบวนการ 2) เตรียมอุปกรณ์ สื่อ IT 3) จัดกิจกรรมดำเนินการให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4) ประยุกต์ใช้ความรู้ 5) ปรับปรุงระบบข้อมูลสารสนเทศ 6) ประเมินการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ 7) เผยแพร่ข้อมูล/ความรู้ อย่างทั่วถึง
แนวทางที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การวัด วิเคราะห์ เพื่อ ค้นหาข้อมูลเชิงประจักษ์ในการสะท้อนผลการดำเนินงาน/การพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลที่ไวเพียงพอที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหา ข้อบกพร่อง วางแผนการป้องกัน และช่วยให้เกิดความชัดเจนในการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล แนวทาง - มอบหมายผู้รับผิดชอบ* ในระดับกลุ่มการพยาบาล* ในระดับหน่วยงาน - กำหนดขอบเขต กระบวนการหลัก - วิเคราะห์กระบวนการหลัก นำไปสู่การกำหนดประเด็นสำคัญ และ ตัวชี้วัด - พัฒนาแหล่งข้อมูล และระบบการบันทึกการพยาบาล ตามกระบวนการหลักของการบริหารการพยาบาลในแต่ละระยะ
ตัวอย่างกระบวนการหลัก Pre hospital care ประเมิน จัดการเตรียมและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย - ช่วยเหลือ เบื้องต้น- จัดการ เคลื่อนย้าย- ประสานงาน- ดูแลระหว่าง การเคลื่อนย้าย การคัดกรอง - ประเมินสถาน- การณ์- จัดพื้นที่- คัดกรอง/ ประเมิน- คัดแยกผู้ป่วย การประสานงาน - รับแจ้ง- สั่งการ- เตรียมความ พร้อม- เดินทาง การส่งต่อ และการบันทึกผล
ตัวอย่างกระบวนการหลัก ที่ ER การดูแลต่อเนื่อง- เฝ้าระวังอาการ เปลี่ยนแปลง- จัดการแผนการ รักษาของแพทย์ อย่างรอบคอบ- ประเมินสภาพ โดยละเอียด- ดูแลระหว่าง การตรวจรักษา- ประเมินผล- บันทึก ประสานงานการส่งต่อ/จำหน่าย- ประเมินสภาพ- เตรียมความ พร้อมก่อนการ ส่งต่อ/จำหน่าย- ประสานงานเพื่อการส่งต่อ- เตรียมอุปกรณ์ เครื่องใช้ที่จำเป็น- ดูแลระหว่างการส่งต่อ การพยาบาลแรกรับ- ประสานงาน แพทย์/หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง- จัดการภาวะ วิกฤต-ฉุกเฉิน อาการรบกวน- ประเมินผล -ประเมินสภาพ-ซักประวัติ บาดเจ็บ-ค้นหาภาวะ ฉุกเฉินวิกฤต อาการรบกวน
ตัวอย่างกระบวนการหลักของ Trauma ward / ICU แรกรับ 8 ชม.- จัดการ/ประเมิน/การรักษาต่อเนื่อง– ประเมินสภาพ ซักประวัติโดยละเอียดทุกระบบ- กำหนดเป้าหมาย/วางแผนระยะสั้น* จัดการแก้ไขปัญหาวิกฤต บรรเทาอาการรบกวน* เฝ้าระวังภาวะวิกฤต อาการรบกวน* ป้องกันภาวะแทรกซ้อน แรกรับต่อเนื่อง- จัดการ/ประเมิน/การรักษาต่อเนื่อง– เฝ้าระวัง ประเมินต่อเนื่อง- ร่วมกับแพทย์คาดการณ์สภาพผู้ป่วยก่อนจำหน่าย- ปรับเป้าหมาย/ วางแผนระยะสั้น และระยะยาว โดยญาติมีส่วนร่วม- ปฏิบัติ ประเมินผลตามแผนเทียบกับ เป้าหมาย แรกรับทันที- ประเมินสภาพแรกรับ – ค้นหาภาวะวิกฤต ฉุกเฉิน อาการรบกวน- ช่วยเหลือเบื้องต้น- จัดการการตรวจ รักษา- ประเมินผล- ประสานงานแพทย์/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฟื้นฟู + วางแผนจำหน่าย- ประเมินความพร้อม/ฟื้นฟูสภาพในระบบที่เบี่ยงเบนทุกระบบ – ประเมินความต้องการ และวางแผนจำหน่าย- เตรียมความพร้อมจำหน่าย และดูแลต่อเนื่อง
การจัดการความรู้ เน้น การปรับระบบการทำงานประจำ เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้* การแก้ไขปัญหา* การปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาล* การสร้างผลงานวิชาการ นวัตกรรม
ตัวอย่างวิธีการ - การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อผิดพลาด ภาวะแทรกซ้อนของการบริการ ณ จุดเกิดเหตุ ที่ ERTrauma ward ICU เพื่อนำไปแลกเปลี่ยน เรียนรู้ แก้ไขปัญหาร่วมกัน - การจัดตั้งกลุ่ม/ เครือข่าย ศึกษาเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อหากลวิธีแก้ไขปัญหา/พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยอุบัติเหตุ - กำหนดระบบ และค้นหาทีมพยาบาลแกนหลักสำคัญในการสร้างบรรยากาศ ของการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน ในระหว่างการปฏิบัติงาน ในหน่วยงาน ทุกหน่วยงาน * Pre-Post Conference คุณภาพ * Nursing Round * Case Conference
ตัวอย่างวิธีการ(ต่อ) - ปรับปรุงระบบการปฏิบัติการพยาบาลดังนี้* ให้มีความปลอดภัยมากที่สุด ตั้งแต่แรกรับ ต่อเนื่องถึงจำหน่าย * พยาบาลทำหน้าที่ประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วย กำหนดเป้าหมาย และแผนการพยาบาล ระยะสั้น ระยะยาว *อำนวยการให้มีการปฏิบัติตามแผน และประเมินผล *ปรับเป้าหมาย และแผนการพยาบาลให้เป็นปัจจุบัน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอาการ อาการแสดงของผู้ป่วยอย่างเป็นปัจจุบัน จนบรรลุเป้าหมายระยะยาว ขาด O2เสี่ยงต่อการขาด O2เฝ้าระวังการขาด O2 ฟื้นฟูการหายใจ เตรียมหย่าเครื่องช่วยหายใจ
มาตรฐานที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ….. ดำเนินการด้านทรัพยากรบุคคล ให้สามารถปฏิบัติภารกิจด้านการพยาบาลในศูนย์ฯ ได้อย่างเพียงพอ และมีคุณภาพ เกณฑ์ 5.1 จัดให้มีบุคลากรปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ 1) ตามภาระงานตลอด 24 ชั่วโมง 2) จัดทีมการพยาบาลแบบผสมผสาน
5.2 จัดระบบ/ดำเนินการพัฒนาบุคลากร 1) กำหนดคุณสมบัติและสมรรถนะ(เฉพาะทาง,APN) 2) กำหนดแผนและโปรแกรมการพัฒนา 3) พัฒนาระบบการประเมินผลบุคคล โดยใช้สมรรถนะ และผลงาน 5.3 จัดระบบสรรหา คัดเลือก 5.4 สนับสนุนให้เกิดความก้าวหน้าในอาชีพ 5.5 ประเมินความพึงพอใจของบุคลากร 5.6 จัดการระบบสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย