1 / 21

บทที่ 8 ตัวแปร ชนิดข้อมูลและการอ้างถึง เวิร์ก ชีต และเซล

บทที่ 8 ตัวแปร ชนิดข้อมูลและการอ้างถึง เวิร์ก ชีต และเซล. อ.รจนา วานนท์ Roseyayee.wordpress.com roseyayee@gmail.com Tel 089-7204020. ตัวแปร และชนิดข้อมูลใน VBA.

rayya
Download Presentation

บทที่ 8 ตัวแปร ชนิดข้อมูลและการอ้างถึง เวิร์ก ชีต และเซล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8 ตัวแปร ชนิดข้อมูลและการอ้างถึง เวิร์กชีต และเซล อ.รจนา วานนท์ Roseyayee.wordpress.com roseyayee@gmail.com Tel 089-7204020

  2. ตัวแปร และชนิดข้อมูลใน VBA • ตัวแปร คือ หน่วยความจำสำหรับเก็บข้อมูลชนิดต่าง ๆ โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรตามที่กำหนดขึ้น เช่น X,Y,Price,Sales,cost การเขียนโค๊ด VBA ใน Excel ต้องมีการส่งค่าไปยังเซลต่าง ๆ ในเวิร์กชีต หรือการนำค่าจากเซลในเวิร์กชีตมาคำนวณหรือประมวลผล วิธีการเก็บค่าจากเซลก่อนนำไปคำนวณหรือส่งไปยังเซล ควรจะพักเก็บในตัวแปร จะทำให้โค้ด VBA ที่สร้างขึ้นมีความยืดหยุ่นและสะดวกในการเรียกใช้งานมากขึ้น

  3. ชนิดข้อมูล

  4. หลักการตั้งชื่อตัวแปรหลักการตั้งชื่อตัวแปร • ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือ Underscore(_) เท่านั้น • ตัวถัดไปจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือ Underscore ก็ได้ • ตัวอักษรพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ ไม่มีความแตกต่างกัน (Non-Case Sensitive) • ห้ามใช้คำสงวน (Reserved Word) • ชื่อต้องมีความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักษร • ในการตั้งชื่อตัวแปรนั้นเราสามารถตั้งชื่ออะไรก็ได้ แต่ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมายและสามารถบอกชนิดของตัวแปรนั้น ๆ เพื่อให้ง่ายต่อการแก้ไขและพัฒนาชุดคำสั่งในภายหลัง

  5. การสร้างตัวแปรไว้ใช้งานการสร้างตัวแปรไว้ใช้งาน • รูปแบบการสร้างตัวแปรจะใช้คำว่า Dimชื่อตัวแปร Asชนิดข้อมูลของตัวแปร เปรียบเสมือนการแจ้งกับ Excel ให้รู้ก่อนใช้งานโค๊ด VBA ว่าได้สร้างตัวแปรขึ้นมาแล้ว ในภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไปนิยมเรียกการสร้างตัวแปรไว้ใช้งานว่า การประกาศตัวแปร มีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ Dim ชื่อตัวแปร As ชนิดข้อมูลของตัวแปร

  6. ตัวอย่างการสร้างตัวแปรสำหรับการใช้งาน VBA • Dim x As Integer ให้ตัวแปร x เก็บค่าข้อมูลประเภทตัวเลขจำนวนเต็ม • Dim price As Single ให้ตัวแปรชื่อ Price เก็บค่าข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม • Dim complain As String ให้ตัวแปรชื่อ Complain เก็บค่าข้อมูลาประเภทตัวอักษร

  7. พิมพ์โค๊ด VBA ตั้งชื่อว่า test_var ประกาศตัวแปร กำหนดค่าให้ตัวแปร แสดงข้อมูลในเซลจากค่าของตัวแปร

  8. ตัวดำเนินการ (Operators)

  9. ตัวอย่างการใช้งานตัวดำเนินการตัวอย่างการใช้งานตัวดำเนินการ

  10. การป้องกันการลืมด้วยการเขียน Comments ในโค้ด VBA • วิธีการเขียน comments ให้ใส่เครื่องหมาย’ ข้างหน้าcomments ที่เราต้องการ ตัวอักษรที่เขียนทั้งหมดจะเป็นสีเขียวหลังจากขึ้นบรรทัดใหม่ และโปรแกรมจะมองเห็นว่าส่วนนี้เป็น comments ไม่ใช่โค๊ด VBA ก็จะข้ามส่วนนี้ไป

  11. การอ้างถึง เวิร์กชีต และเซล • วิธีอ้างถึงเวิร์กชีต By name • วิธีอ้างถึงเวิร์กชีต By Index รูปแบบ Worksheets(“sheet1”).Range(“a1”).Value =5 Worksheets(“Sales”).Range(“e1”).Value =3000 รูปแบบ Worksheets(1).Range(“a1”).Value =5 Worksheets(3).Range(“e3”).Value =“Customer list”

  12. การอ้างถึง เวิร์กชีต และเซล • วิธีอ้างถึงเวิร์กชีตที่ถูกเรียกใช้งาน ไม่ต้องระบุชื่อเวิร์กชีต คำว่า ActiveSheetจะหมายถึงเวิร์กชีตที่ถูกเรียกใช้งานอยู่ รูปแบบ ActiveSheet.Range(“a1”).Value =5 ActiveSheet.Range(“e2”).Value =3000 ActiveSheet.Range(“c3”).Value =“Transportantion”

  13. การอ้างถึง เวิร์กชีต และเซล (ต่อ) ชื่อของเซล • วิธีอ้างถึงเซล By name • วิธีอ้างถึงเซล By Index รูปแบบ Worksheets(“sheet1”).Range(“a5”).Value =5 Worksheets(“marketing”).Range(“ce100”).Value =“Budget” Worksheets(“sheet1”).Range(“f:g”).Value =“OK” ตำแหน่งคอลัมน์ ตำแหน่งแถว รูปแบบ Worksheets(“sheet1”).Cells(“5,1”).Value =25 Worksheets(“cost”).Cells(“225,2”).Value =350

  14. การอ้างถึง เวิร์กชีต และเซล (ต่อ) • วิธีอ้างถึงเซล By Index • การอ้างอิงเซลที่ถูกเรียกใช้งาน รูปแบบการอ้างถึงเซลที่มากกว่า 1 เซล ด้วยวิธี by index Worksheets(“sheet1”).Range(Cells(1,1),Cells(3,5)).Value =4 Worksheets(“sheet1”).Range(Cells(2,3),Cells(10,8)).Value =“VBA” รูปแบบ ActiveCell.Value = 25 ActiveCell.Value = “Profit”

  15. การอ้างถึง เวิร์กชีต และเซล (ต่อ) • วิธีอ้างถึงเซล By relative ตำแหน่งแถวเพิ่มจากเซล ที่ถูกเรียกใช้งานไป 2 แถว ตำแหน่งคอลัมน์เพิ่มจากคอลัมน์ของเซล ที่ถูกเรียกใช้งานไป 3 คอลัมน์ รูปแบบ ActiveCell.Offset(2,3).Value = 25 ActiveCell.Offset(-1,5).Value = 25 ActiveCell.Offset(-2,3).Value = 25

  16. การอ้างถึง เวิร์กชีต และเซล (ต่อ) • วิธีอ้างถึงเซล By named ranges รูปแบบ Worksheets(“sheet1”).Range(“center”).Value = “Bangkok” Worksheets(“Finance”).Range(“interest rate”).Value = 0.0675 ชื่อของเซลที่ตั้งชื่อไว้ใน Excel

  17. การคำนวณมูลค่าเงินฝากธนาคารการคำนวณมูลค่าเงินฝากธนาคาร • สร้าง Procedure คำนวณมูลค่าของเงินฝากธนาคาร โดยรับค่าจำนวนเงินฝาก อัตราดอกเบี้ย จำนวนปีที่ฝากจากเวิร์กชีต โดย Porcedureนี้ต้องสามารถสั่งใช้งานใน เวิร์กชีตใด ๆ ก็ได้ในไฟล์เดียวกัน

  18. 1 deposit_amout Single • 2. interest_rate Single • 3. period Integer • 4. future_amount Single ตัวแปร = ActiveSheet.Range(“a1”).Value Future_amount = deposit_amout * (1 + interest_rate) ^ Period ActiveSheet.Range(“a4”).Value = future_amount

  19. แบบฝึกหัดที่ 8.1 • สร้าง Procedure เมื่อเรียกใช้งานให้พิมพ์เครื่องหมาย = ตั้งแต่เซล B2 จนถึง B100 ในเวิร์กชีตชื่อ sheet2 • สร้าง Procedureเมื่อเรียกใช้งานให้พิมพ์เครื่องหมาย *** ตั้งแต่เซล C3 จนถึง C100 ในเวิร์กชีตที่ใช้งานอยู่

More Related