1 / 43

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ. การเปลี่ยนแปลงในคู่มือฉบับปรับปรุง. มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญหลายจุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความครอบคลุมผู้ได้รับผลกระทบกลุ่มเสียงให้มากที่สุด และใช้งานง่ายขึ้น ดังนี้

rbowen
Download Presentation

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ

  2. การเปลี่ยนแปลงในคู่มือฉบับปรับปรุง • มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญหลายจุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความครอบคลุมผู้ได้รับผลกระทบกลุ่มเสียงให้มากที่สุด และใช้งานง่ายขึ้น ดังนี้ • รวมเวชระเบียนผู้ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติและน้ำมือมนุษย์เป็นฉบับเดียวกัน • แยกเวชระเบียนเด็กกับผู้ใหญ่ออกจากกัน • มีข้อมูลค้นหากลุ่มเสี่ยงของทั้งเด็กและผู้ใหญ่ • ปรับเปลี่ยนเครื่องมือคัดกรองให้ครอบคลุมโรคที่สำคัญและใช้งานง่ายขึ้น

  3. เวชระเบียนสำหรับผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ อายุ 18 ปีขึ้นไป

  4. การใช้เครื่องมือในคู่มือเดิม เปรียบเทียบกับ ฉบับปรับปรุง

  5. BS4 vs BS8

  6. ST-5 vs. แบบวัดระดับความเครียด (visual analogue scale) • ถาม 5 คำถาม เปรียบเทียบกับถาม 1 คำถาม • มีกระบวนการวิจัยในการทดสอบประสิทธิภาพระหว่าง ST-5 กับ VAS พบว่ามีประสิทธิภาพใกล้เคียงกัน

  7. DS8

  8. DS8 ข้อ 1-6 vs. 2Q9Q • 2Q9Q มีความจำเพาะในการคัดกรองโรคซึมเศร้ามากกว่า • มีคำถามคัดกรองก่อน 2 ข้อ ทำให้ประหยัดเวลาในการถาม กรณีที่ผู้ได้รับผลกระทบไม่มีภาวะซึมเศร้า • มีการใช้งานที่แพร่หลายในพื้นที่ ผู้ปฏิบัติงานมีความคุ้นเคยมากกว่า

  9. DS8 ข้อ 7-8 vs. 9Q ข้อ 9 • สามารถใช้คำถาม 9Q ข้อ 9 เป็นตัวแทนในการประเมินความคิดฆ่าตัวตายเบื้องต้น

  10. PTSD • ในคู่มือเดิม จะคัดกรองโรค PTSD ในกรณีที่ประสบภัยพิบัติจากน้ำมือมนุษย์เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ภัยพิบัติจากธรรมชาติก็มีโอกาสเกิด PTSD ได้เช่นกัน • ใช้เครื่องมือ 2P ในการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรค PTSD เบื้องต้น หากพบว่ามีความเสี่ยงจึงทำ PISCES-10 ต่อ (หลักการเดียวกับเครื่องมือ 2Q9Q)

  11. เครื่องมือคัดกรอง 2P Company Logo

  12. 2P ตอบใช่ทั้งสองข้อ = มีความเสี่ยง Company Logo

  13. ภาวะติดสุรายาเสพติด • ในคู่มือเดิม จะคัดกรองด้วยเครื่องมือ AUDIT และ ASSIST • ตามทฤษฎี สองภาวะนี้มักเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเพื่อเยียวยาตัวเอง ดังนี้หากสามารถประเมินผลกระทบทางจิตใจได้ก่อนและให้การดูแลที่เหมาะสม ก็จะไม่เกิดภาวะนี้ ในฉบับปรุงปรุงจึงไม่ได้ทำการประเมิน เพื่อลดภาระของผู้ปฏิบัติงาน

  14. การจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉินการจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉิน • กลุ่มเสี่ยงสูง (แดง) ได้แก่ 1) ผู้บาดเจ็บ 2) ญาติผู้เสียชีวิต 8) ผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตาย ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ข้อ 3-7) อย่างน้อย 2 กลุ่ม • กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (เหลือง) ได้แก่ ผู้ที่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงกลุ่มเดียวของ 3) ผู้พิการ หรือ 4) ผู้สูงอายุติดบ้านหรือติดเตียง หรือ 5) ผู้มีประวัติใช้สารเสพติดในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา หรือ 6) ผู้มีประวัติการรักษาทางจิตเวช หรือ 7) ผู้มีความเครียด กังวล ท้อแท้ สิ้นหวัง จนรบกวนการดำเนินชีวิต ในช่วง 2 สัปดาห์ • กลุ่มเสี่ยงต่ำ/ไม่เสี่ยง (เขียว) ได้แก่ ผู้ที่ไม่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงทั้ง 8 กลุ่ม

  15. ขั้นตอนการใช้เครื่องมือคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต : ระยะหลังได้รับผลกระทบและระยะฟื้นฟู (กรณีผู้ใหญ่)

  16. การแบ่งระดับความเสี่ยงตามเครื่องมือคัดกรองการแบ่งระดับความเสี่ยงตามเครื่องมือคัดกรอง • ระดับเสี่ยงสูง (แดง) ได้แก่ ผู้ที่มีคะแนน 9Q ≥ 19 คะแนน หรือคะแนน 9Q ข้อ 9 ≥ 1 คะแนน หรือคะแนน PISCES-10 ≥19 คะแนน • ระดับเสี่ยงปานกลาง (เหลือง) ได้แก่ ผู้ที่มีระดับความเครียด ≥ 4 คะแนน หรือ ผู้ที่มีคะแนน 9Q อยู่ระหว่าง 7-18 คะแนน หรือ หรือผู้ที่มีคะแนน PISCES-10 อยู่ระหว่าง 9-18 คะแนน • ระดับเสี่ยงต่ำ/ไม่เสี่ยง (เขียว) ได้แก่ ผู้ที่ไม่มีอาการตามแบบประเมินอยู่ในระดับเสี่ยง • ระยะหลังได้รับผลกระทบ – ระดับเสี่ยงสูงควรส่งพบแพทย์/ระดับเสี่ยงต่ำไม่ต้องติดตามต่อ • ระยะฟื้นฟู - ระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไปส่งพบแพทย์ทุกราย

  17. สรุปเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป

  18. เวชระเบียนสำหรับเด็กที่ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ อายุต่ำกว่า 18 ปี

  19. การใช้เครื่องมือในคู่มือเดิม เปรียบเทียบกับ ฉบับปรับปรุง

  20. เด็กกลุ่มเสี่ยง 6กลุ่ม • ผู้บาดเจ็บ • ญาติผู้เสียชีวิต • ผู้พิการ/เด็กพิเศษ • ผู้มีประวัติใช้สารเสพติดในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา • ผู้มีประวัติการรักษาทางจิตเวช • ผลการประเมินใน Symptoms checklist พบความเสี่ยง

  21. การประเมินอาการสำหรับเด็กตามกลุ่มอายุ (Symptoms checklist) • ใช้ประเมินอาการที่เริ่มผิดไปจากปกติหลังประสบเหตุการณ์รุนแรง • แบ่งเป็น 3 กลุ่มอายุ ได้แก่ • เด็กอายุแรกเกิด – 5 ปี • เด็กอายุ 6 – 12 ปี • เด็กอายุ 13 – 17 ปี • ถ้าพบอาการตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป ถือว่ามีความเสี่ยง

  22. เด็กอายุแรกเกิด – 5 ปี • มีท่าทีหวาดกลัว/วิตกกังวล/หลีกเลี่ยงที่เกิดเหตุ • ร้องไห้โยเยง่าย • ไม่ยอมนอน • พฤติกรรมเด็กกว่าวัย เช่น กลับไปดูดนิ้ว ปัสสาวะรดที่นอน • ก้าวร้าวกว่าปกติ • ติดแม่หรือผู้ดูแลหรือครูมากกว่าปกติ

  23. เด็กอายุ 6 – 12 ปี • มีท่าทีหวาดกลัว/วิตกกังวล/หลีกเลี่ยงที่เกิดเหตุ • เศร้า/ชอบอยู่คนเดียว/ไม่ร่าเริง 󠄀 • ฝันร้าย/กรีดร้อง/ผวาตื่น/นอนละเมอกลางคืน • ก้าวร้าว/อาละวาด • พฤติกรรมเด็กกว่าวัย เช่น กลับไปดูดนิ้ว ปัสสาวะรดที่นอน/ติดผู้ใหญ่ • การเรียนแย่ลง

  24. เด็กอายุ 13 – 17 ปี • วิตกกังวล/หวาดกลัว/หลีกเลี่ยงที่เกิดเหตุ • หงุดหงิด/ฉุนเฉียวง่าย/ก้าวร้าว/ทะเลาะกับผู้อื่นบ่อย • กินไม่ได้/นอนไม่หลับ/ฝันร้าย • เงียบ/ไม่พูดผิดจากปกติ • สัมพันธภาพที่ไม่ดีกับคนในครอบครัวหรือเพื่อน • การเรียนแย่ลง

  25. แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น

  26. แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น

  27. Children’s Revised Impact of Event Scale (CRIES-8)

  28. การจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉินการจัดกลุ่มเสี่ยงในระยะวิกฤตและฉุกเฉิน • กลุ่มเสี่ยงสูง (แดง) ได้แก่ ผู้ที่เป็น 1) ผู้บาดเจ็บ หรือ 2) เป็นญาติผู้เสียชีวิต หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ (ข้อ 3-6) อย่างน้อย 2 กลุ่ม • กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (เหลือง) ได้แก่ เด็กที่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเพียงกลุ่มเดียวของ 3) ผู้พิการ/เด็กพิเศษ หรือ 4) ผู้มีประวัติใช้สารเสพติดในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา หรือ 5) ผู้มีประวัติการรักษาทางจิตเวช หรือ 6) ผู้ที่มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตาม symptoms checklist • กลุ่มเสี่ยงต่ำ/ไม่เสี่ยง (เขียว) ได้แก่ เด็กที่ไม่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในกลุ่มเสี่ยง 6 กลุ่ม

  29. ขั้นตอนการใช้เครื่องมือคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต : ระยะหลังได้รับผลกระทบและระยะฟื้นฟู (กรณีเด็ก)

  30. การแบ่งระดับความเสี่ยงตามเครื่องมือคัดกรองการแบ่งระดับความเสี่ยงตามเครื่องมือคัดกรอง • ระดับเสี่ยงสูง (แดง) ได้แก่ เด็กที่มีคะแนน CRIES-8 ≥ 17 คะแนน หรือคะแนน PHQ-A ≥ 15 คะแนน หรือคะแนน PHQ-A ข้อ 9 ≥ 1 คะแนน • ระดับเสี่ยงปานกลาง (เหลือง) ได้แก่ เด็กที่มีอาการจาก Symptoms Checklist พบอย่างน้อย 1 อาการ หรือเด็กที่มีคะแนน PHQ-A อยู่ระหว่าง 5 - 14 คะแนน • ระดับเสี่ยงต่ำ/ไม่เสี่ยง (เขียว) ได้แก่ ผู้ที่ไม่มีอาการตามแบบประเมินอยู่ในระดับเสี่ยง • ระยะหลังได้รับผลกระทบ – ระดับเสี่ยงสูงควรส่งพบแพทย์/ระดับเสี่ยงต่ำไม่ต้องติดตามต่อ • ระยะฟื้นฟู - ระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไปส่งพบแพทย์ทุกราย

  31. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในเด็กที่ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ อายุต่ำกว่า 18 ปี

More Related