1 / 67

โดย ร้อยโทหญิง กรรภิรมย์ วิชาธร นักการทูตชำนาญการ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันอังคารที่ 20 สิงหาคม 2556. โดย ร้อยโทหญิง กรรภิรมย์ วิชาธร นักการทูตชำนาญการ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียน.

reegan
Download Presentation

โดย ร้อยโทหญิง กรรภิรมย์ วิชาธร นักการทูตชำนาญการ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันอังคารที่ 20 สิงหาคม 2556 โดย ร้อยโทหญิง กรรภิรมย์ วิชาธร นักการทูตชำนาญการ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

  2. ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียนประวัติความเป็นมาและความสำคัญของอาเซียน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510

  3. สมาชิกผู้ก่อตั้ง(2510) • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ ASEAN Factsheet สมาชิกเพิ่มเติม 6. บรูไนฯ (2527) 7. เวียดนาม (2538) 8. ลาว (2540) 9. พม่า (2540) 10. กัมพูชา (2542) ประชากร – 600.15 ล้านคน พื้นที่ - 4.5 ล้าน ตารางกิโลเมตร การค้ารวม– 2.117ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ การลงทุนจากต่างประเทศ – 39.623 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ

  4. ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียนความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน สีน้ำเงิน สันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลือง ความเจริญรุ่งเรือง สีขาว ความบริสุทธิ์ รวงข้าว 10 ต้นคือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและ ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลม แสดงถึง ความเป็นเอกภาพ วันอาเซียน8 สิงหาคม

  5. ธงอาเซียน

  6. แนวทางการใช้ธงอาเซียนแนวทางการใช้ธงอาเซียน

  7. เลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN) H.E. Le Luong Minh เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบัน โดยมีวาระการดำรงตำแหน่ง ตั้งแต่ปี 2556-2560 อดีตเลขาธิการอาเซียน ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 2551 – 2555 วาระ 5 ปี

  8. "Today we are celebrating 46 years of ASEAN. 46 years after its inception, from a loose grouping, ASEAN is developing into a rules-based organization with its own Charter and legal personality. Message on ASEAN Day 2013 by H.E. Le Luong Minh, Secretary-General of ASEAN

  9. สำนักเลขาธิการอาเซียนสำนักเลขาธิการอาเซียน ตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย

  10. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ลงนามกฎบัตรอาเซียนซึ่งเป็นเสมือนธรรมนูญของ อาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ - มีกฎกติกาในการทำงาน(Rules-based) - มีประสิทธิภาพ - มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีผลใช้บังคับ เมื่อ 15 ธ.ค. 2551

  11. วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งอาเซียนวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งอาเซียน เพื่อธำรงรักษาและเพิ่มพูน สันติภาพ ความมั่นคง และเสถียรภาพ เพื่อสร้างตลาดและฐานการผลิต เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก

  12. วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งอาเซียนวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งอาเซียน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ กับรัฐและองค์การระหว่างประเทศต่างๆ

  13. หลักการพื้นฐานของอาเซียนหลักการพื้นฐานของอาเซียน การเคารพเอกราช อธิปไตย (Sovereignty) ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน และอัตลักษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิกอาเซียน การไม่ใช้การรุกรานและการข่มขู่ว่าจะใช้หรือการใช้กำลัง หรือกระทำอื่นใดในลักษณะที่ขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ (other actions in any manner inconsistent with international law) การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน (Non-interference)

  14. หลักการพื้นฐานของอาเซียนหลักการพื้นฐานของอาเซียน การยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึง กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ การเคารพในวัฒนธรรม ภาษาและศาสนาที่แตกต่างของประชาชนอาเซียน โดยเน้น คุณค่าร่วมกันของประชาชนอาเซียนด้วย จิตวิญญาณของเอกภาพในความหลากหลาย การยึดมั่นในกฎการค้าพหุภาคีและระบอบของอาเซียนซึ่งมีกฎเป็นพื้นฐานสำหรับการปฏิบัติตามข้อผูกพันทางเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ

  15. แผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (2552-2558) ปฏิญญาชะอำ-หัวหินว่าด้วยแผนงานจัดตั้งประชาคมอาเซียน (2552-2558)

  16. ประชาคมอาเซียน สังคมและวัฒนธรรม ASCC การเมืองและความมั่นคง APSC เศรษฐกิจ AEC

  17. โครงสร้างอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียนโครงสร้างอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียน คณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคง คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา เช่น การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านการคลัง องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา เช่น การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา เช่น การประชุมรัฐมนตรีศึกษาอาเซียน ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Connectivity)

  18. การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)

  19. ความแตกต่าง ด้านเชื้อชาติศาสนา ระดับการพัฒนา การแข่งขันของมหาอำนาจ สหรัฐ รัสเซีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น การพัฒนา โครงสร้างสถาบัน ประเด็นท้าทายของอาเซียน ประชาคมอาเซียน การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากร ตลาด การลงทุน ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ ความขัดแย้งใน ประวัติศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติ VS ภูมิภาค

  20. 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

  21. 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(ASEAN Political-Security Community: APSC) สร้างบรรทัดฐานร่วมกันในด้านต่างๆ เช่น การสร้างเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ ไม่ใช้กำลังในการแก้ไขปัญหา ป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง โดยมี สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (TAC) ซึ่งลงนามเมื่อปี 2519 เป็นเอกสารสำคัญในการแสดงเจตนารมณ์ในการสร้างความแข็งแกร่งในประเทศและในภูมิภาค

  22. 1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน(ASEAN Political-Security Community: APSC) - The Southeast Asia Nuclear-Weapon-Free Zone (SEANWFZ) สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ASEAN Regional Forum (ARF) การประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงใน เอเชีย-แปซิฟิก

  23. องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ APSC 1. ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM) 2. Commission on the Southeast Asia Nuclear Weapon Free Zone (SEANWFZ Commission) 3. ASEAN DefenceMinisters Meeting (ADMM) 4. ASEAN Law Ministers Meeting (ALAWMM) 5. ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) 6. ASEAN Regional Forum (ARF)

  24. 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  25. องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ AEC 1. ASEAN Economic Ministers Meeting (AEM) 2. ASEAN Free Trade Area(AFTA) Council 3. ASEAN Investment Area (AIA) Council 4. ASEAN Finance Ministers Meeting (AFMM) 5. ASEAN Ministers Meeting on Agriculture and Forestry (AMAF) 6. ASEAN Ministers on Energy Meeting(AMEM)

  26. องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ AEC 7. ASEAN Ministerial Meeting on Minerals (AMMin) 8. ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology (AMMST) 9. ASEAN Telecommunications and Information Technology Ministers Meeting (TELMIN) 10. ASEAN Transport Ministers Meeting (ATM) 11. Meeting of the ASEAN Tourism Ministers (M-ATM) 12. ASEAN Mekong Basin Development Cooperation (AMBDC) 13. ASEAN Centre for Energy 14. ASEAN-Japan Centre in Tokyo

  27. 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป้าหมายของ AEC Blueprint 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก

  28. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมาความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมา เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ลงนามปี 2535เริ่มปี 2536 กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) เริ่มปี 2538 เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) เริ่มปี 2541

  29. AEC แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม มุ่งดำเนินการให้เกิด……. เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น

  30. AEC แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน ความร่วมมือในด้านต่างๆ e-ASEAN นโยบายภาษี นโยบายการแข่งขัน สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การคุ้มครองผู้บริโภค

  31. AEC แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่าและใหม่ สนับสนุนการพัฒนาSMEs

  32. AEC แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ “+6” “+3” ASEAN - China ASEAN - Korea ASEAN- Japan ASEAN- India ASEAN- Australia/NewZealand สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ASEAN- EU ASEAN- US (TIFA)

  33. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าและการลงทุน ตลาดขนาดใหญ่ • ประชากรกว่า 600 ล้านคน • Economy of Scale (ผลิตยิ่งมาก ต้นทุนยิ่งลดลง) • ดึงดูดการลงทุนทั้งจากภายในและภายนอกอาเซียน

  34. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ผลประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้าและการลงทุน เพิ่มกำลังการต่อรอง • 10 เสียง ดังกว่าเสียงเดียว • สร้างแนวร่วมในเวทีระดับโลก เช่น WTO G20 APEC • เป็นที่สนใจของประเทศอื่น ที่จะมาทำความตกลง FTA

  35. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี 1. การจัดตั้งกรอบทักษะฝีมือแรงงานระดับประเทศ 2. การจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) • เป้าหมายหลัก • - บูรณาการมาตรฐานและระบบการให้การรับรองฝีมือแรงงานอาเซียนเข้าด้วยกัน • - ดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อบรรลุมาตรฐานฝีมือและแนวปฏิบัติที่สอดประสานกัน • - บรรลุการเป็นตลาดแรงงานอาเซียนที่มีฝืมือและคุณภาพเพื่อก้าวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. 2015

  36. การจัดทำร่างข้อตกลง Mutual Recognition Arrangement ปัจจุบันอาเซียนได้ลงนาม ข้อตกลง MRAs ร่วมกันใน 7 สาขาวิชาชีพและ 1 สาขาด้านบริการ ได้แก่ 1. วิชาชีพวิศวกร 2. วิชาชีพพยาบาล 3. วิชาชีพสถาปนิก 4. วิชาชีพนักสำรวจ 5. วิชาชีพแพทย์ 6. วิชาชีพทันตแพทย์ 7. วิชาชีพนักบัญชี 8. บริการด้านการท่องเที่ยว การจัดทำ MRAs เป็นเพียงกรอบความความตกลงร่วมเพียงเพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเท่านั้น

  37. ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาคความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาค Australia U.S.A. Russia Canada ASEAN New Zealand China Republic of Korea E.U. Japan India

  38. โอกาสที่เกิดจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคโอกาสที่เกิดจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ASEAN-Russia ASEAN-Canada CEPEA ASEAN-China FTA ASEAN-EU FTA ASEAN-US TIFA EAFTA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP ASEAN-Pakistan AEC ASEAN-India FTA ASEAN-Australia- New Zealand FTA

  39. 3. ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน • ไม่เจ็บป่วย • ไม่จน • มีการศึกษา • ปลอดภัย • เอื้ออาทร

  40. องค์กรเฉพาะสาขาภายใต้ ASCC • ALMM/ SLOM (รง) • AHMM/ SOMHD (สธ) • AMRDPE/ SOMRDPE (มท) • AMMSWD/ SOMSWD (พม) • AMMY/ SOMY (พม) • ACCSM (กพ) • AMS (กทก) • AMRI/ SOMRI (สนร) • AMCA/ SOMCA (วธ) • ASED/ SOM-ED (ศธ) • AMMDE/ ACDM (มท) • AMME/ ASOEN (ทส) • Transboundary Haze (ทส) • AMMW/ ACW (พม) • ACWC (พม)

  41. 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) วัตถุประสงค์ มุ่งหวังเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชาชนกินดีอยู่ดี ปราศจากโรคภัย มีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน สร้างสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน Caring and Sharing Community

  42. 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) ประกอบด้วยความร่วมมือ 6 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 3. ความยุติธรรมและสิทธิ 4. ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา

  43. แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวกับอาเซียน การจัดตั้ง ASEAN University Network (AUN) ส่งเสริมความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติ (AHA Centre) ส่งเสริมการพัฒนาเยาวชน (AMMY/SOMY) ส่งเสริมความร่วมมือด้านสาธารณสุข (SOMHD) ส่งเสริมการจัดตั้งคณะกรรมาธิการว่าด้วยการปกป้องและส่งเสริมสิทธิของสตรีและเด็ก (ACWC)

  44. แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบของการรวมตัวในอาเซียนและโลกาภิวัฒน์ ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ (CSR) การมีส่วนร่วมของชุมชน

  45. แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) ความร่วมมือด้านการจัดการภัยพิบัติ ASEAN Agreement on Disaster Management and Emergency Response (AADMER) มีผลบังคับใช้แล้วเมื่อเดือนธันวาคม 2552 ภายหลังจากทั้ง 10 ประเทศอาเซียนได้ให้สัตยาบันความตกลงภารกิจสำคัญคือการดำเนินงานของ ASEAN Humanitarian Assistance (AHA) Center ภายใต้ข้อริเริ่มของไทย เลขาธิการอาเซียนได้รับมอบหมาย ให้เป็น ASEAN Humanitarian Assistance Coordinator

  46. แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) ส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวกับอาเซียน (ASED/SOMED) -คู่มือการจัดทำหลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Source Book) -การจัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network - AUN) -การมีแผนงานด้านการศึกษา 5 ปีของอาเซียน (ASEAN 5-Year Work Plan on Education 2011-2015)

  47. แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) -คู่มือการจัดทำหลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Source Book)

  48. แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC Blueprint) -คู่มือการจัดทำหลักสูตรอาเซียน (ASEAN Curriculum Source Book)

  49. การส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity) มีแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan onASEAN Connectivity) แผนแม่บทฯ ระบุการเชื่อมโยง 3 ด้าน คือ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ด้านกฎระเบียบ 3. ด้านประชาชน

More Related