1 / 33

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี. ระบบการเลือกตั้งและระบบรัฐสภาของประเทศเยอรมนี. เนื้อหาโดยสังเขป อารัมภบท : สภาพทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์ ระบอบการปกครอง ระบบการเลือกตั้ง กฎหมายเกี่ยวกับพรรคการเมือง พรรคการเมืองและผลการเลือกตั้งทั่วไปในปีค.ศ. 2005. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี.

Download Presentation

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ระบบการเลือกตั้งและระบบรัฐสภาของประเทศเยอรมนี

  2. เนื้อหาโดยสังเขป • อารัมภบท: สภาพทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์ • ระบอบการปกครอง • ระบบการเลือกตั้ง • กฎหมายเกี่ยวกับพรรคการเมือง พรรคการเมืองและผลการเลือกตั้งทั่วไปในปีค.ศ. 2005

  3. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับประเทศเยอรมนี: สภาพทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์

  4. ประชาการ: 82 ล้านคน เมืองหลวง:เบอร์ลิน ภาษาประจำชาติ:ภาษาเยอมัน ประธานาธิบดี:นายโฮร์สต์ โคห์เลอร์ นายกรัฐมนตรี:แองเกลา มาร์เกล จำนวนรัฐ: 16 รัฐ ประเทศเยอรมนี Source:INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender

  5. ภูมิประเทศและภูมิอากาศภูมิประเทศและภูมิอากาศ • ประเทศเยอรมนีแบ่งตามสภาพภูมิประเทศได้เป็น 6 ส่วน ได้แก่: • ที่ราบลุ่มทางตอนเหนือ; • แนวเทือกเขาตอนกลาง; • เขตเนินเขาและที่ราบสูงทางตะวันตกเฉียงใต้; • เนินเขาและแหลมคาบสมุทรทางตอนใต้ที่ต่อเนื่องจากเทือกเขาแอลป์ • ไหล่เทือกเขาบาวาเรียนแอลป์ทางตอนใต้ • ลักษณะอากาศในแต่ละพื้นที่ขึ้นอยู่กับเขตภูมิอากาศที่ภูมิประเทศเหล่านั้นตั้งอยู่ แต่โดยรวมก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมากนัก ประเทศเยอรมนีมีฝนตกตลอดทั้งปี ลักษณะอากาศแบบชายทะเลแถบพื้นที่เขตตะวันตกเฉียงเหนือจะค่อยๆแปรเป็นภูมิอากาศแบบพื้นทวีปในเขตตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 9 องศาเซลเซียส Source:INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender

  6. แม่น้ำและเมืองสำคัญ แม่น้ำสายหลักๆในเยอรมนีได้แก่ แม่น้ำดานูบ แม่น้ำเอลเบ แม่น้ำ โอเดอร์ แม่น้ำเวเซอร์ และแม่น้ำไรน์ เมื่องที่ใหญ่ที่สุด เบอร์ลิน 3,471,418 เมืองใหญ่อื่นๆ ฮัมบวร์ก,1.770.291 มิวนิค,1.294.680 โคโลญจน์ 991.395 แฟรงเฟิร์ต 667.468 สตุตการ์ต 597.158 ดอร์ตมุนด์, 587.137 เอสเซน 582.764 ดุสเซนดอล์ฟ578.326 เบรเมน548.477 ฮันโนเวอร์518.154 Duisburg 495.668 ที่มา:INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender

  7. พื้นที่ในเยอรมนี 29,5% 53,5% 1,8% ป่าไม้ 12,3% พื้นที่เกษตรกรรม ทะเลสาป แม่น้ำ และพื้นที่สีเขียวอื่นๆ อาคารสิ่งก่อสร้าง ถนน

  8. ทรัพยากรธรรมชาติ & พื้นที่อุตสาหกรรม • ถ่านหิน • ถ่านหิน • เกลือ • เขตอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ • น้ำมัน Source:INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender

  9. เยอรมนีถือหนึ่งในประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจก้าวหน้าจากเทคโนโลยีมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก รองจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น. มีการกระจายการพัฒนาที่สมดุลทั่วทั้งภูมิภาค การกระจายรายได้ทั่วทั้งสังคมเป็นไปอย่างสมดุล กฎเกณฑ์ของตลาดแรงงานและระบบสังคมที่มีค่าใช้จ่ายสูงลดทอนความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของประเทศเยอรมนี การรวมประเทศกับเยอรมันตะวันออกและการยกระดับเยอรมันตะวันออกยังคงเป็นปัญหาระยะยาวที่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก (ในแต่ละปี เงินที่เยอรมันตะวันตกต้องโอนไปให้ทางตะวันออกคิดเป็นมูลค่าประมาณพันล้านยูโร) การรวมกันทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจภายในทวีปยุโรปเป็นความท้าทายและสร้างโอกาสให้แก่เศรษฐกิของเยอรมนี เช่น เมื่อรับเอาสกุลเงินยูโรของสหภาพยุโรปมาใช้ เยอรมนีก็ไม่มีสกุลเงินเป็นของตัวเองอีกต่อไป ส่งผลให้มีอำนาจในการควบคุมเศรษฐกิจลดลง เห็นได้จากการที่รัฐสภาเยอรมันไม่สามารถควบคุมอัตราดอกเบี้ยอีกต่อไป เศรษฐกิจ

  10. GDP แบ่งตามอุตสาหกรรมในปี 2007

  11. ประวัติศาสตร์ ค.ศ. 1945-1961 สงครามสิ้นสุด ค.ศ.1945 • เยอรมันตะวันตก • (เขตสหรัฐฯและอังกฤษปกครอง) • เยอรมันตะวันออก • (เขตโซเวียตปกครอง) พื้นที่ประกอบอาชีพ สร้างกำแพงเบอร์ลิน ค.ศ.1961 ที่มา: INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender

  12. กำแพงเบอร์ลิน ค.ศ. 1961-1989 • 1961 • ก่อสร้างกำแพงเบอร์ลิน • 1969 • พรรคสังคมนิยม ประชาธิปไตย (Social Democrat -SPD) นายวิลลี บรันท์เป็นนายกรัฐมนตรี • พัฒนาความสัมพันธ์กับโซเวียตและเยอรมันตะวันออก • 1989 • การอพยพครั้งใหญ่ของชาวเยอรมันตะวันออก • กำแพงเบอร์ลินพังทลาย

  13. การรวมประเทศเยอรมนี 1990 • การรวมประเทศ • การเลือกตั้งทั่วประเทศเยอรมันครั้งแรก (การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 12) • รัฐบาลผสมพรรคซีดียู/เอฟดีพี (การเข้ารับตำแหน่งครั้งที่ 3 ของนายโคห์ล) • รัฐสภาปี 1991 ตั้งนครเบอร์ลินเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ 1994 • การเลือกตั้งทั่วไป (การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 13) • รัฐบาลผสมพรรคซีดูยู/ เอฟดีพี (การเข้ารับตำแหน่งครั้งที่ 4 ของนายโคห์ล) 1998 • การเลือกตั้งทั่วไป (การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14) • รัฐบาลผสมพรรคเอสดีพีและพรรคกรีน 2002 • การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14

  14. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ระบบการเมืองการปกครอง

  15. ศัพทานุกรมศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันด้านการปกครองในเยอรมนี คำเรียกในภาษาไทย/อังกฤษ: • Federal Assembly (“สภาล่าง”) • Federal Council (“สภาสูง”) • คณะรัฐมนตรี • ประธานาธิบดี • สภาผู้แทนราษฎร • ศาลรัฐธรรมนูญ • คำเรียกในภาษาเยอรมัน: • Bundestag • Bundesrat • Bundeskabinett • Bundespraesident • Bundesversammlung • Bundesverfassungsgericht

  16. ระบบการเมืองการปกครองระบบการเมืองการปกครอง • ระบอบการเมืองการปกครองของประเทศเยอรมนีจัดว่าเป็นระบบรัฐบาลผสมแบบสัดส่วน (mixed-member proportional representation system) • ระบอบนี้พัฒนาขึ้นเพื่อแก้ไขจุดบกพร่องของระบบการปกครองก่อนหน้าซึ่งเป็นระบบที่พิสูจน์แล้วว่าขาดเสถียรภาพ: • ระบอบเสียงข้างมากเบ็ดเสร็จ (The absolute majoritysystem) ที่ใช้ช่วงที่เยอรมนียังคงปกครองเป็นจักรวรรดิ(German Empire)จัดว่าเป็นระบอบที่ขาดการมีส่วนร่วมทางการเมือง อำนาจอยู่ในมือของเสียงส่วนใหญ่ของพวก “อภิสิทธิ์ชน” (ไม่ใช่ผู้แทนปวงชน๗ • ระบอบสภาผู้แทนแบบสัดส่วนสมบูรณ์ (The pure proportional representation system)ที่ใช้ช่วงที่เยอรมนีเป็นสหพันธรัฐไวมาร์ (Weimar Republic:1919-1933) ทำให้อำนาจของรัฐอ่อนแอลง เปิดทางให้เกิดการเพิกถอนรัฐธรรมนูญในปีค.ศ. 1933 โดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ • มีระบบการตรวจสอบและถ่วงดุล (checks and balances)ที่ซับซ้อนเพื่อป้องกันความเป็นเผด็จการสืทธิทางการเมือง สถาบันด้านประชาธิปไตยต่างๆ และระบบสหพันธรัฐได้รับความคุ้มครองพิเศษจากรัฐธรรมนูญเยอรมนี (กฎหมายบททั่วไป)

  17. ข้อกฎหมายพื้นฐาน(รัฐธรรมนูญเยอรมนี)ข้อกฎหมายพื้นฐาน(รัฐธรรมนูญเยอรมนี) มาตรา 1: สิทธิขั้นพื้นฐาน (มีความเท่าเทียมกันตามกฎหมาย; มีสิทธิส่วนบุคคล, มีสิทธิใน ทรัพย์สินและสิทธิในการศึกษา, มีเสรีภาพในการพูด การ เข้าถึงข้อมูล การแสดงออก และการเคลื่อนไหวชุมนุม เป็นต้น) มาตรา 2: โครงสร้างและอำนาจของรัฐและมลรัฐ มาตรา 3: สถาบันต่างๆของรัฐ มาตรา 4: การออกกฎหมายระดับรัฐและการบังคับใช้กฎหมาย มาตรา 5: การจัดการด้านตุลาการ มาตรา 6: การจัดการด้านการเงินสาธารณะและระบบภาษี

  18. การแบ่งอำนาจ(German Federalism) • การแบ่งอำนาจ • อำนาจอธิปไตย: อำนาจบริหาร อำนาจนิติบัญญัติ และอำนาจตุลาการ • การแบ่งอำนาจจากบนลงล่าง: ระดับชาติ ระดับมลรัฐ และระดับท้องถิ่น • การแบ่งอำนาจจากบนลงล่างแบ่งตามขอบเขตความรับผิดชอบที่ต่างกันไป เช่น การศึกษาเป็นความรับผิดชอบของรัฐบาลระดับมลรัฐ ส่วนนโยบายด้านต่างประเทศจะเป็นความรับผิดชอบของรัฐบาลระดับชาติ • การจัดการเลือกตั้งก็จะแบ่งเป็นสามระดับตามระดับการแบ่งอำนาจจากบนลงล่างสามขั้น.

  19. โครงสร้างรัฐ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีระดับรัฐ Federal Council (“สภาสูง”) Federal Assembly (“สภาล่าง”) สภาผู้แทนราษฎร รัฐบาลระดับมลรัฐ บาเดน-เวือร์ทเทมแบร์กเฮสเซนเสรีรัฐซัคเซน เสรีรัฐไบเอิร์นนีเดอร์ซัคเซน ซัคเซน-อันฮัลท์ เบอร์ลินเมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น ชเลสวิก-โฮลชไตน์ บรันเดนบวร์ก นอร์ดไรน์ เวสท์ฟาเลน เธือริงเงน เบรเมนไรน์ลันด์-ฟัลส์ ฮัมบวร์กซาร์ลันด์ รัฐบาลท้องถิ่น ประชาชน

  20. สถาบันของรัฐ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร BUNDESTAG BUNDESRAT รัฐบาลระดับมลรัฐ ประชาชน Source:INTER-NATIONES: Übersichten: Die Bundesrepublik Deutschland und Ihre Laender

  21. แผนผังการบริหาร ประมุขของรัฐ ประธานาธิบดี (Horst Koehler) ประธานรัฐบาล นายกรัฐมนตรี (Angelika Merkel) มอบหมาย เลือก คณะรัฐมนตรี (Bundeskabinett) เลือก วาระ 4 ปี เลือก วาระ 5 ปี รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร

  22. งานด้านนิติบัญญัติ สภาคู่ (Bicameral Parliament) สภาผู้แทนราษฎร (Federal Assembly) สภาผู้แทนจากมลรัฐ (Federal Council) “สภาล่าง” “สภาสูง” ผู้ได้รับการเลือกตั้ง (เลือกโดยตรงและแบบสัดส่วน) ตัวแทนจากรัฐบาลระดับมลรัฐ “เป็นตัวแทนโดยตรง” “เป็นตัวแทนโดยอ้อม”

  23. The Bundestag (เดอะบุนเดสทาค)(สภาผู้แทนราษฎร) • สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนโดยตรงของประชาชนแห่งสหพันธรัฐเยอรมนี • สภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจในการกำหนดกฎหมาย ด้วยเหตุนั้นจึงถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของรัฐ • ตัวบทกฎหมายบางประเภทต้องผ่าน สภาผู้แทนราษฎร(ผู้แทนของรัฐต่างๆ) • หน้าที่การทำงาน โครงสร้าง และกระบวนการ ของสภาผู้แทนราษฎรได้รับการพัฒนามาเป็นเวลาหลายปีจากประสบการณ์การทำงานจริง เพื่อให้เกิดการแบ่งงานในสมาชิกสภาอย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่าที่สุด

  24. บทบาทของสภาผู้แทนราษฎรบทบาทของสภาผู้แทนราษฎร • บทบาทของสภาผู้แทนราษฎรตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายมีดังนี้: • แต่งตั้งรัฐบาลที่มาจากเสียงข้างมาก • เลือกนายกรัฐมนตรี • ตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร • ผ่านกฎหมาย • อนุมัติงบประมาณ • to act as a unifying force in society

  25. องค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎรองค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร • สมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรมาจากพรรคการเมืองที่แตกต่างหลากหลาย ทั้งหมดได้รับเลือกมาจากระบบการเลือกผู้แทนที่จัดเป็นแบบสัดส่วนผสมผสานจากการเลือกตั้งสองแบบ • สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกอย่างน้อย 598 คน ซึ่งมาจาก • 229คนได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในเขตเลือกตั้งต่างๆ • 229คน(หรือกว่านั้น) ได้รับเลือกเข้ามาจากรายชื่อผู้สมัครของแต่ละพรรคที่พรรคการเมืองในแต่ละรัฐเลือกเข้ามา • ปรกติแล้วผู้สมัครจะได้รับการเสนอชื่อมาจากพรรคการเมือง แต่ผู้สมัครอิสระก็สามารถลงเลือกตั้งได้

  26. กลุ่มในสภาผู้แทนราษฎร • กลุ่มในสภาผู้แทนราษฎรได้รับอนุญาตให้ยื่นญัตติไม่ไว้วางใจ ยื่นญัตติให้มีการทบทวนหรือเลื่อนพิจารณาร่างกฎหมาย ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาประเด็น หรือตั้งกระทู้ถามต่ออำนาจเด็ดขาดขององค์ประชุม. • สมาชิกของกลุ่มในสภาผู้แทนราษฎรจะต้องมาจากพรรคการเมืองเดียวกัน หรือมาจากพรรคที่มีวัตถุประสงค์เดียวกัน และไม่ได้เป็นคู่แข่งกันเองในรัฐหนึ่งรัฐใดใน 16 รัฐ เช่น นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949 เป็นต้นมา พรรคซีดียูและซีเอสยูร่วมมือกันจัดตั้งรัฐบาลผสม • มีเพียงพรรคที่ได้คะแนนเสียงมากพอเท่านั้น ที่จะได้รับอนุญาตให้ตั้งกลุ่มในรัฐสภา.

  27. เมื่อตั้งประเทศเป็นสาธารณรัฐ มีพรรคการเมืองต่างๆเกิดขึ้น 39 พรรค ซึ่งทำให้เกิดความคิดเห็นที่วุ่นวายจัดการได้ยาก ด้วยเหตุนี้ กฎหมายด้านการเลือกตั้งจึงมีวรรคที่กำหนดเงื่อนไขเพื่อจำกัดขนาดกลุ่มทางการเมืองไว้ การจะสร้างกลุ่มในรัฐสภาได้ พรรคจะต้องมีสมาชิกอย่างน้อยร้อยละ 5 ของสมาชิกทั้งหมดของสภาผู้แทนราษฎร หรือมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอย่างน้อยสามคนที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง การสร้างกลุ่มในรัฐสภา- กฎเกณฑ์เรื่องการมีสมาชิกร้อยละ 5

  28. ประธานสภาผู้แทนราษฎร(President of the Bundestag) • ประธานสภาผู้แทนราษฎรโดยหน้าที่แล้วยู่ในอันดัยสองรองจากประมุขของรัฐ (ประธานาธิบดี). • เป็นตัวแทนสาธารณะของสมาชิกสภาผู้แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรรับผิดชอบจัดการกิจการภายในของสภาและต้องตอบทุกข้อซักถามหรือร้องเรียนใดๆ ที่มีต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนหนึ่งคนใด • หน้าที่ที่สำคัญที่สุดของประธานสภาผู้แทนราษฎร คือการทำหน้าที่ประธานในการประชุมสภา รักษากฎระเบียบและดูแลการประชุมให้เป็นไปตามขั้นตอนตัวบทกฎหมาย • ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร จะได้รับการเลือกมากจากสมาชิกในสภาผู้แทนราษฎรหลังจากการเลือกตั้งเสร็จสิ้น และมีวาระปฏิบัติหน้าที่เท่ากับหนึ่งรอบการเลือกตั้ง โดยธรรมเนียมแล้ว กลุ่มเสียงข้างมากในสภาฯจะเป็นผู้เสนอชื่อประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานสภาผู้แทนราษฎรก็มักจะเลือกมาจากสมาชิกในกลุ่มทางการเมืองต่างๆ • สภาผู้แทนราษฎรไม่มีสิทธิถอดถอนประธานหรือรองประธานสภาผู้แทนราษฎร นอร์แบร์ต ลัมเมิร์ท (Norbert Lammert)ประธานสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งที่ 16 เป็นสมาชิกพรรคซีดียู

  29. สภาผู้แทนจากมลรัฐ(Federal Council) • สภาผู้แทนจากมลรัฐมีหน้าที่เสนอประเด็นที่เป็นผลประโยชน์ของมลรัฐต่างๆ สู่ระดับรัฐ (เป็นผู้แทนทางอ้อมของประชาชน)). • มีหน้าที่ด้านการกำหนดกฎหมายและบริหารจัดการ อันหมายรวมถึงสิทธิในการริเริ่มนำเสนอข้อกฎหมาย • มีอำนาจเด็ดขาดในการยับยั้ง : • การแก้ไขข้อกำหนดหรือแก้รัฐธรรมนูญ • ข้อกำหนดหรือกฎหมายที่มีผลกระทบต่อการเงินของรัฐ รวมไปถึงข้อกำหนดเกี่ยวกับภาษีต่างๆ. • ข้อกำหนดหรือกฎหมายที่มีผลกระทบต่ออำนาจสูงสุดของรัฐ

  30. องค์ประกอบของสภาผู้แทนจากมลรัฐองค์ประกอบของสภาผู้แทนจากมลรัฐ • ตัวแทนที่ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลของรัฐแต่ละรัฐ • ไม่มีการเลือกตั้ง • องค์ประกอบของสภาผู้แทนจากมลรัฐจะจัดสรรจากองค์ประกอบของรัฐบาลระดับมลรัฐ และต้องมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อรัฐทั้ง 16 รัฐมีการเลือกตั้ง .

  31. กระบวนการนิติบัญญัติ • บัญญัติกฎหมายใหม่จะได้รับการเสนอมาจากแผนกงานที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องๆนั้น จากกระทรวงต่างๆ. • ส่งร่างกฎหมายให้แก่สภาผู้แทนจากมลรัฐเพื่อพิจารณาเบื้องต้น. • การพิจารณาครั้งแรกในสภาผู้แทนราษฎร– แจ้งแก่สื่อและประชาชนทราบว่า ร่างกฎหมายอยู่ในขั้นตอนการพิจารณา • ที่ประชุมฟังความเห็น – ตรวจสอบตัวบทกฎหมายอย่างละเอียดโดยกลุ่มในรัฐสภาและปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญต่างๆ • การพิจารณาครั้งที่ 2-3ในสภาผู้แทนราษฎร– กลุ่มในรัฐสภาตั้งกระทู้ซักถาม ทั้งในเชิงเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยกับตัวบทกฎหมายใหม่ • การประชาสัมพันธ์ทางสื่อด้วยการเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ เพื่อให้มีการถกเถียง ทั้งในเชิงเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยต่อร่างกฎหมายที่อยู่ในกระบวนการพิจารณา

  32. กระบวนการนิติบัญญัติ การพิจารณาครั้งแรกในสภาผู้แทนราษฎร ร่างกฎหมายใหม่ การพิจารณาครั้งที่ 1 ในสภาผู้แทนราษฎร ที่ประชุมฟังความเห็น ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ กลุ่มในรัฐสภา ความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ ร่างกฎหมายตกไป การพิจารณาครั้งที่ 2 ในสภาผู้แทนราษฎร การพิจารณาครั้งที่ 3 ในสภาผู้แทนราษฎร ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ ผ่านกฎหมาย

  33. กระบวนการนิติบัญญัติConsent Bills • For legislation proposing changes to the constitution or federal structure, the consent of the Bundesrat is required. • กรณีที่สภาผู้แทนราษฎรและสภาผู้แทนจากมลรัฐไม่สามารถหาข้อตกลงในกรณีขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับมลรัฐ ก็อาจมีการตั้งคณะกรรมการไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้ง (Mediation Committee) ขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่า ความขัดแย้งอันเป็นเรื่องปรกติในโครงสร้างการบริหารงานระดับรัฐ จะได้รับการแก้ไขด้วยความประนีประนอม และตัวบทกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทุกมลรัฐจะสามารถผ่านการรับรองของสภาได้

More Related