170 likes | 465 Views
www.LearnWWW.com. บทที่ 7 การจัดการสินค้าคงคลัง. SkulKMITL@gmail.com. บทที่ 7. เนื้อหา ความหมายและการจัดการ ความสำคัญของการจัดสินค้าคงคลัง ประโยชน์ของการจัดสินค้าคงคลัง ประเภทของสินค้าคงคลัง การควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบการจัดการสินค้าคงคลัง. วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักศึกษา
E N D
www.LearnWWW.com บทที่7การจัดการสินค้าคงคลัง SkulKMITL@gmail.com
บทที่ 7. • เนื้อหา • ความหมายและการจัดการ • ความสำคัญของการจัดสินค้าคงคลัง • ประโยชน์ของการจัดสินค้าคงคลัง • ประเภทของสินค้าคงคลัง • การควบคุมสินค้าคงคลัง • ระบบการจัดการสินค้าคงคลัง • วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักศึกษา • ทราบและเข้าใจความหมายสินค้าคงคลัง • ทราบและเข้าใจความสำคัญสินค้าคงคลัง • ทราบและเข้าใจวัตถุสงค์สินค้าคงคลัง • ทราบและเข้าใจประโยชน์สินค้าคงคลัง • ทราบและเข้าใจประเภทสินค้าคงคลัง • ทราบและเข้าใจการควบคุมสินค้าคงคลัง การจัดการสินค้าคงคลัง www.LearnWWW.com
7.1.1ความหมายของคลังสินค้า7.1.1ความหมายของคลังสินค้า คลังสินค้า (Ware House) หมายถึง พื้นที่ที่ได้วางแผนแล้วเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้สอยและการเคลื่อนย้ายสินค้าและวัตถุดิบ โดยคลังสินค้าทำหน้าที่ในการเก็บสินค้าระหว่างกระบวนการเคลื่อนย้าย เพื่อสนับสนุนการผลิตและการกระจายสินค้า ซึ่งสินค้าที่เก็บในคลังสินค้าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่วัตถุดิบ และสินค้าสำเร็จรูป
7.1.2ความหมายของการจัดการสินค้าคงคลัง7.1.2ความหมายของการจัดการสินค้าคงคลัง การจัดการสินค้าคงคลัง หมายถึง การควบคุมและการวางแผน ในการรักษาระดับสินค้าคงคลังในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าและเสียค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลังต่ำสุด
7.2 ความสำคัญของการจัดการสินค้าคงคลัง • ปัจจัยนำเข้าของกระบวนการผลิตมีความสำคัญอย่างยิ่ง คือ วัตถุดิบ ชิ้นส่วนและวัสดุต่าง ๆ ที่เรียกรวมกันว่า สินค้าคงคลัง • ซึ่งเป็นส่วนประกอบทางต้นทุนของผลิตภัณฑ์ที่สูงที่สุด • สินค้าคงคลังต้องมีเพียงพอในการตอบสนองลูกค้าด้านความพึงพอใจในด้านเวลา • การจัดซื้อจัดหาสินค้าคงคลัง มีผลกระทบต่อผลกำไรโดยตรง
7.3 วัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลัง สามารถมีสินค้าคงคลังบริการลูกค้าในปริมาณที่เพียงพอ สามารถลดระดับการลงทุนในสินค้าคงคลังต่ำที่สุด เพื่อกำหนดปริมาณการสั่งซื้อและจุดสั่งซื้อที่ดีที่สุด เพื่อรักษาสภาพคล่อง โดยกำหนดอัตราการหมุนเวียนสินค้าให้เร็วขึ้น เพื่อป้องกันความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อควบคุมไม่ให้สินค้ามากเกิน จนทำให้พื้นที่ในการจัดเก็บไม่เพียงพอ
7.4 ประโยชน์ของการจัดการสินค้าคงคลัง ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ รักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่สม่ำเสมอ ทำให้ธุรกิจมีสภาพคล่องมากขึ้น ลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง วางแผนและควบคุมสินค้าอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทำให้สามารถตั้งราคาขายได้ต่ำกว่าคู่แข็งขัน
ประเภทของสินค้าคงคลังตามลักษณะของสินค้าคงคลังประเภทของสินค้าคงคลังตามลักษณะของสินค้าคงคลัง 1. สินค้าคงคลังที่เป็นวัตถุดิบ (Raw Material Inventory) 2. สินค้าคงคลังระหว่างการผลิต (Work-in-Process, WIP) 3. สินค้าคงคลังประเภทอะไหล่สำหรับซ่อมบำรุง (Maintenance/Repair/Operating, MROs) 4. สินค้าคงคลังประเภทสินค้าสำเร็จ (Finished Goods Inventory)
ประเภทของสินค้าคงคลังในเส้นทางของระบบโลจิสติกส์ประเภทของสินค้าคงคลังในเส้นทางของระบบโลจิสติกส์ ประเภทสินค้าคงคลังที่ช่วยป้องกันความเสี่ยงจากการดำเนินงานในลักษณะต่าง ๆ ได้เป็น 5ประเภท 1. สินค้าคงคลังเพื่อรองรับความต้องการตามวัฏจักร และความต้องการในช่วงปรกติ(Cycle/Regular Stock) 2. สินค้าคงคลังสำรอง (Safety Stock) 3. สินค้าที่ถูกเก็บในช่วงฤดูกาล(Seasonal Stock) 4. สินค้าซึ่งอยู่ในระยะต่าง ๆ ของเส้นทางขนส่ง:จากโรงงานไปยังลูกค้า 4. สินค้าสำรองเพิ่มเติมเพื่อเหตุผลอื่น ๆ (Other Stock)
ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง มีอยู่ 3วิธีคือ • ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบสินค้าที่มรการลงบัญชีทุกครั้งที่มีการรับและจ่ายของ • ระบบสินค้าคงคลังเมื่อสิ้นงวด เป็นการลงบัญชีเฉพาะช่วงเวลาที่กำหนด เช่น ทุกปลายสัปดาห์ • ระบบการจำแนกสินค้าคงคลังเป็นหมวด ABCเป็นการจำแนกสินค้าโดยพิจารณามูลค่าของสินค้าเป็นเกณฑ์ • รายการที่มีมูลค่าสูง สินค้าคงคลังร้อยละ 15 – 20 • รายการที่มีมูลค่าปานกลาง สินค้าคงคลังร้อยละ 30 - 40 • รายการที่มีมูลค่าต่ำ สินค้าคงคลังร้อยละ 40 – 50 ร้อยละจำนวนเงินที่ใช้ 100 90 75 A B C 20 50 100 ร้อยละของจำนวนรายการ
ตัวอย่าง ฝ่ายซ่อมบำรุงโรงงาน เคเคซี เก็บอะไหล่ดังนี้
จัดเรียงลำดับสินค้าคงคลังตามมูลค่าการใช้จัดเรียงลำดับสินค้าคงคลังตามมูลค่าการใช้
จัดลำดับสินค้าคงคลังตามมูลค่าการใช้จัดลำดับสินค้าคงคลังตามมูลค่าการใช้
ระบบการจัดการสินค้าคงคลังระบบการจัดการสินค้าคงคลัง 1. ระบบขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) 2. ระบบการวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) 3. ระบบสินค้าคงคลังของการผลิตแบบทันเวลาพอดี (JIT)
ระบบขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดระบบขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัด • ศึกษาตัวอย่างในหนังสือ หน้าที่ 344 – 355 • ทำการบ้าน ตอนที่ 1,2หน้าที่ 364 - 365