2.76k likes | 5.76k Views
บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. การเคลื่อนไหว เป็นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่วนของร่างกาย การเคลื่อนที่ เป็นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
E N D
บทที่ 7การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต • การเคลื่อนไหว เป็นการเคลื่อนย้ายเพียงบางส่วนของร่างกาย • การเคลื่อนที่ เป็นการเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง * การเคลื่อนที่จะต้องมีการเคลื่อนไหวด้วยเสมอ แต่การเคลื่อนไหวไม่จำเป็นต้องมีการเคลื่อนที่ด้วย
โครงร่างสัตว์(animal skeleton) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.Hydroskeleton or hydrostatic skeleton 2. Hard skeleton • 2.1 Exoskeleton • 2.2 Endoskeleton
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การเคลื่อนไหวโดยอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม อมีบา(amoeba)
การเคลื่อนไหวของอมีบาการเคลื่อนไหวของอมีบา • การเคลื่อนไหวอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึม โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ectoplasm(แข็ง) และ endoplasm(เหลว) • Actin และ Miosin ประกอบกันเป็น microfilament(เป็นเส้นใยโปรตีนเล็กๆ) หดตัวและคลายตัวได้ ทำให้เกิดการไหลของไซโทพลาสซึม • ทำให้เกิดเท้าเทียม(pseudopodium) • การเคลื่อนที่แบบอะมีบา (amoebiod movement) • ได้แก่ อมีบา เม็ดเลือดขาว ราเมือก
ในเซลล์อมีบา การยื่นpseudopodium ออกไปเกิดจากการยืดและหดตัวของactin filaments
การเคลื่อนไหวโดยการใช้แฟลกเจลลัม หรือซิเลีย แฟลกเจลลัม(flagellum)
Microtubules เป็นแกนของflagellum และcilia
การเคลื่อนที่ของไฮดรา(Hydra)การเคลื่อนที่ของไฮดรา(Hydra) • ตีลังกา • เคลือบคลานเหมือนหนอน • ลอยไปตามน้ำ
การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย(planaria)การเคลื่อนที่ของพลานาเรีย(planaria) • Phylum platyhelminthes • มีกล้ามเนื้อ 3 ชนิด คือ circular muscle ,longitudinal muscle,oblique muscle • เคลื่อนที่ไปโดยการลอยไปตามผิวน้ำหรือคลืบคลาน • ทางด้านล่างมีซิเลียช่วยในการโบกพัดช่วยให้เคลื่อนตัวได้ดียิ่งขึ้น
การเคลื่อนที่ของหนอนตัวกลม(round worm) • Phylum nematoda ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย หนอนน้ำส้มสายชู • มีเฉพาะกล้ามเนื้อตามยาวของลำตัว(longitudinal muscle) • การเคลื่อนที่ทำให้เกิดลักษณะส่ายไปส่ายมา
Phylum annelida • กล้ามเนื้อ 2 ชุดคือ กล้ามเนื้อวงกลม(circular muscle) อยู่ทางด้านนอก และกล้ามเนื้อตามยาว(longitudinal muscle) ตลอดลำตัวอยู่ทางด้านใน • เดือย(setae) • การเคลื่อนที่ของไส้เดือน(earth worm)
Phylum coelenterata • เคลื่อนที่โดยการหดตัวของเนื้อเยื่อที่อยู่บริเวณของร่มและผนังลำตัวทำให้น้ำพ่นออกมาทางด้านล่าง
การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)
การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)การเคลื่อนที่ของหมึก(squid)
Exoskeleton -พบในพวก mollusk และแมลง -เป็นโครงร่างเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย โดยส่วนประกอบของเปลือกเป็นพวก crystallized mineral salt และไม่มีเซลล์ (acellular) เช่น แคลเซียมคาร์บอเนตใน mollusk, chitin ในแมลง -exoskeleton นอกจากจะทำหน้าที่ค้ำจุนร่างกายแล้ว ยังช่วยป้องกันการสูญเสียน้ำ -การเคลื่อนไหวเกิดขึ้นโดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับ exoskeleton
-กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวมี 2 ชุด คือ 1. Flexors ทำให้เกิดการโค้งงอของข้อต่อเมื่อหดตัว 2. Extensors ทำให้เกิดการยืดตัวของข้อต่อเมื่อหดตัว -กล้ามเนื้อทั้งสองชุดนี้จะทำงานตรงข้ามกัน เมื่อกล้ามเนื้อชนิดหนึ่งหดตัว อีกชนิดหนึ่งจะคลายตัว (antagonism)
insect • Exoskeleton เป็นสารพวกไคติน • ข้อต่อข้อแรกของขากับลำตัว แบบ ball and socket ส่วนข้อต่ออื่นๆเป็นแบบบานพับ • การเคลื่อนไหวเกิดจาการทำงานสลับกันของกล้ามเนื้อ flexer กับ extensor เป็นแบบ antagonism
Moving the exoskeleton: Joints and muscle attachments Flexor = งอ Extensor = คลาย
มีรูปร่างแบนเพรียวบาง และเมือก มีเกล็ด ช่วยลดแรงเสียดทาน • เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกับกระดูกสันหลังด้านใดด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วนหัวมาทางหาง)ทำให้เกิดการโบกพัดของครีบหาง(cadal fin) ดันให้ตัวพุ่งไปข้างหน้าโดยมีครีบหลัง(drosal fin) ช่วยในการทรงตัวไม่ให้เสียทิศทาง • เมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดติดกระดูกสันหลังด้านหนึ่งหดตัว(เริ่มจากส่วนหัวมาทางส่วนหาง) • ครีบอก(pectoral fin) และครีบตะโพก (pelvicfin) ซึ่งเทียบได้กับขาหน้าและขาหลังของสัตว์บก จะทำหน้าที่ช่วยพยุงลำตัวปลา และช่วยให้เกิดการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้ำ และสิงโตทะเล • มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็นพาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์(flipper)
การเคลื่อนที่ของสัตว์ปีกการเคลื่อนที่ของสัตว์ปีก
การเคลื่อนที่ของนก • มีกระดูกที่กลวง ทำให้เบา • มีกล้ามเนื้อที่ใช้ในการขยับปีกที่แข็งแรง - กล้ามเนื้อ pectoralis major - กล้ามเนื้อ pectoralis minor • มีถุงลม (air sac) • มีขน (feather)
Endoskeleton -พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด -เป็นโครงร่างแข็งที่แทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อ (soft tissues)หรือภายในร่างกาย -endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton)แบ่งเป็น 1. cartilageเป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide 2. boneประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt) -นักกายวิภาคศาสตร์แบ่งกระดูกออกเป็น 2 ส่วน 1. Axial skeleton:กระดูกกะโหลก (skull), กระดูกสันหลัง (vertebral column), กระดูกซี่โครง (rib) 2. Appendicular skeleton:เป็นกระดูกที่ต่อออกมาจาก axial skeleton แบ่งเป็น 2.1 Fore-limb bone (กระดูกแขน) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pectoral girdle (clavicle, scapula) 2.2 Hind-limb bone (กระดูกขา) ยึดติดกับ axial skeleton โดยกระดูก pelvic girdle (ilium, sacrum, pubis, ischium)
โครงสร้างของกระดูก การจำแนกชนิดกระดูก • กระดูกแท่งยาว (long bone) ได้แก่ ต้นแขน,ปลายแขน,ต้นขา,หน้าแข้ง,กระดูกน่อง,ไหปลาร้า • กระดูกแท่งสั้น (short bone) ได้แก่ ข้อมือ,ข้อเท้า • กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กะโหลก,เชิงกราน,สะบัก,อก,ซี่โครง • กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ สันหลัง,แก้ม,ขากรรไกร
(pectoral girdle) สีน้ำเงินคือ กระดูกแกน 80 ชิ้น สีเหลืองคือ กระดูกรยางค์ 126 ชิ้น ilium sacrum pubis ischium