1 / 44

รายงานสถานการณ์โรค เฝ้าระวัง ระบาดวิทยา

รายงานสถานการณ์โรค เฝ้าระวัง ระบาดวิทยา. Intelligence. Knowledge. ปีที่ 26 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555. Information. Data. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. 10 อันดับโรค และ โรคที่ต้องเฝ้าระวัง. ข้อมูลปี 55 เทียบค่ามัธยฐาน 50-54. สถานการณ์ไข้เลือดออกประเทศไทย. ณ.สัปดาห์ที่ 3.

regis
Download Presentation

รายงานสถานการณ์โรค เฝ้าระวัง ระบาดวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานสถานการณ์โรคเฝ้าระวังระบาดวิทยารายงานสถานการณ์โรคเฝ้าระวังระบาดวิทยา Intelligence Knowledge ปีที่ 26 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 Information Data จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

  2. 10 อันดับโรค และ โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ข้อมูลปี 55 เทียบค่ามัธยฐาน 50-54

  3. สถานการณ์ไข้เลือดออกประเทศไทยสถานการณ์ไข้เลือดออกประเทศไทย ณ.สัปดาห์ที่ 3 จำนวนผู้ป่วย ลดลงจาก ปี 2554 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ร้อยละ 26.64 ข้อมูล 1 ม.ค.-21 ก.พ.55

  4. อัตราป่วยสะสมไข้เลือดออกสูงสุดประเทศอัตราป่วยสะสมไข้เลือดออกสูงสุดประเทศ ข้อมูล 1 ม.ค.-21 ก.พ.55

  5. แนวโน้มไข้เลือดออก ปี 55 จ.ประจวบคีรีขันธ์ ข้อมูล 1 ม.ค.- 26 ก.พ.55

  6. ผู้ป่วยไข้เลือดออกรายสัปดาห์ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2555 ข้อมูลสัปดาห์ที่8 จำนวนราย สัปดาห์

  7. อัตราป่วยกลุ่มอายุไข้เลือดออก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2555 อ.ป่วย : แสนปชก. ข้อมูล 1 ม.ค.- 26 ก.พ.55

  8. อัตราป่วยไข้เลือดออก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2555 อ.ป่วย : แสนปชก. ข้อมูล 1 ม.ค.- 26 ก.พ.55

  9. จำนวนป่วยไข้เลือดออก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2555

  10. ต.หัวหิน ต.กุยบุรี ต.หาดขาม ต.ทับสะแก ต.ประจวบ ต.นาหูกวาง แนวโน้มการระบาดไข้เลือดออกรายตำบล ปี 55 ข้อมูล สัปดาห์ที่ 8

  11. มาตรการเร่งรัดไข้เลือดออกมาตรการเร่งรัดไข้เลือดออก ดำเนินการก่อนการระบาด • ประชาสัมพันธ์ • ควบคุมโรครายแรกให้ได้ 3. แผนเตรียมพร้อมสำหรับเปิดเทอมปีการศึกษา 2555 ข้อมูล 1 ม.ค.- 26 ก.พ.55

  12. อำเภอป้องกันควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

  13. ความเป็นมา รัฐธรรมนูญ 2550 มุ่งเน้นกระจายอำนาจ จังหวัด อำเภอ ตำบล พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. กำหนดหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารณะ นโยบายรัฐมนตรี รพ.สต. สป. / กรม คร. SRRT 13 13

  14. วัตถุประสงค์ 14 - เครือข่ายอำเภอทุกระดับ สามารถบริหารจัดการ และขับเคลื่อน การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อลดปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

  15. โจทย์.... การพัฒนาอำเภอร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อระบบ เฝ้าระวังฯ ป้องกันควบคุมโรคแบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ กรอบแนวคิด อำเภอปัจจุบัน อำเภออนาคต 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 3.มีการวางแผน 4.มีการระดมทุนฯ ....... 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ ....... ....... 5.มีผลงาน พัฒนา จัดระบบให้ทำหน้าที่ เกี่ยวเนื่อง มีความสัมพันธ์กัน และเป้าหมายเดียวกัน

  16. นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทันสถานการณ์ 16 16

  17. กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ SRRT ตำบล

  18. หลักแนวทางสำคัญในการพัฒนา มีคน และทีมงานที่เข้มแข็ง (ทีม SRRT อำเภอ และตำบล) ใช้ระบาดวิทยาเป็นรากฐานในการทำงานสาธารณสุข ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วม ในการควบคุมโรค ส่งเสริมสุขภาพ สร้างเครือข่าย เชื่อมโยง ในระดับต่างๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐานในระดับเดียวกัน และมีการยกระดับต่อเนื่อง

  19. สถานการณ์ ปี 54 ผลการดำเนินงานตามคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน54

  20. นโยบายกรมควบคุมโรค ปี 2555 - มุ่งเน้นผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกิดความตระหนัก ถึงบทบาทในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค - มีการบูรณาการ การดำเนินงานขององค์กรระดับจังหวัด - คงนโยบายการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนต่อเนื่อง - มีการปรับเกณฑ์คุณลักษณะให้มีความท้าทายสำหรับผู้ปฏิบัติงานในอำเภอ โดยยึดกรอบแนวทางการดำเนินงานตามคุณลักษณะทั้ง 5 ด้าน - มีการปรับเกณฑ์กระบวนการดำเนินงานของคุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนเพื่อให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

  21. กรอบความคิด พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน ประเทศควบคุมโรค เข้มแข็ง • จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรค บทบาทกรมควบคุมโรคและสสจ. ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ

  22. การประเมินและการให้คะแนนการประเมินและการให้คะแนน • 1.มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 คะแนน • 2.มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี 20 คะแนน • 3.มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 10 คะแนน • 4.มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 5 คะแนน • 5.มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และเป็นปัญหาในพื้นที่อย่างน้อยประเด็นละ 1 เรื่อง 10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ เมื่อได้คะแนนรวม > 40

  23. การดำเนินงานจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี2555 ด้านนโยบาย • นโยบายจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ • เป็นตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555

  24. เป้าหมาย ปี 2555 1. อำเภอ ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 8 อำเภอ 2. อำเภอมีผลสำเร็จในการป้องกันควบคุมโรคที่เป็นนโยบายและเป็นปัญหาพื้นที่ประเด็นละ 1 เรื่อง ผ่านคำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัด = 5 คะแนน

  25. การขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนการขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นโยบายสสจ.ประจวบฯ 1. กำหนดเป็นตัวชี้วัดการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์สาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ + ผอ.รพ. และ สสอ.ทุกอำเภอ 2. กำหนดผู้รับผิดชอบและมอบหมายงานชัดเจน

  26. การขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนการขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 2. กำหนดผู้รับผิดชอบและมอบหมายงานชัดเจน 3. ติดตามผลการดำเนินงานคณะกรรมการ วางแผนและประเมินผลทุกเดือน 4. สร้างแรงจูงใจโดยใช้ผลการปฏิบัติงาน ประกอบการพิจารณาดีความชอบสำหรับ ผู้ปฏิบัติงาน

  27. การขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนการขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน การกำกับติดตามประเมินผล (ระดับอำเภอ) • 1. วิเคราะห์ผลการประเมิน Self Assessment อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็ง ในแต่ละด้าน • ในแผนการปฏิบัติงานรายเดือน ทุกวันที่ 25 • 2. รายงานทาง เว็บไซต์ สำนักจัดการความรู้กรมควบคุมโรคhttp://kmddc.go.th2 ครั้ง เดือนมีนาคม และพฤษภาคม 55 3. กำหนดแนวทางแก้ไข และแนวทางพัฒนา

  28. การขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนการขับเคลื่อนอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน การกำกับติดตามประเมินผล (ระดับจังหวัด) • 1. ร่วมวิเคราะห์ผลการประเมิน Self Assessment อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็ง ในแต่ละด้าน จากระบบรายงาน 2. นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน ตามมาตรการ และร่วมแก้ไขปัญหา / อุปสรรค 3. คัดเลือกอำเภอดีเด่น ส่งประกวดระดับเขต 4. สรุปบทเรียน

  29. เร่งรัดการขับเคลื่อนของอำเภอ ดังนี้ • 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • 2. แต่งตั้งคณะกรรมการระดับอำเภอ • 3. มอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบหลักชัดเจน (สสอ.+อำเภอ) = 1 คน • 4. ติดตามการพัฒนาทีม SRRT ตำบล (รู้เร็ว แจ้งเร็ว ควบคุมเร็ว) • 5. ติดตามการดำเนินงานตามคุณลักษณะ 5 ด้าน ทุกเดือน ส่งจังหวัดภายในวันที่ 25 ของทุกเดือน • 6. สรุปผลการดำเนินงาน และแนวทางพัฒนาในที่ประชุม กวป.ทุกเดือน • 7. สร้างขวัญและกำลังใจสำหรับผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ

  30. โครงสร้างระดับอำเภอ (สสอ+รพ.) นายอำเภอ ( ผอ.รพ +.สสอ. ) +( อปท. ) + ( อสม./ผู้นำชุมชน/เอกชน ) + ระดมทุน ทีมSRRTอำเภอ วัสดุ อุปกรณ์ ยานพาหนะ วางแผนแก้ไขปัญหา ข้อมูลระบาด สอบสวน ควบคุมโรค สุขศึกษา สิ่งแวดล้อม เก็บตัวอย่าง

  31. โรคตามนโยบายกระทรวงฯ 1.การติดเชื้อ HIV/โรคเอดส์ 2.โรคไข้เลือดออก 3.โรคหลอดเลือดสมอง โรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 1 - 17 โรค

  32. การกำหนดโรคสำคัญตามนโยบายและโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่รายอำเภอ ปี 2555

  33. ปฏิทินการนิเทศงานรอบที่ 1 ปี 2555

  34. Health care reform Econimics Politics อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง การมีส่วนร่วม En & Oc แผน , ระบบระบาด ทุน ประเมินผล NCD CD including EID 11 June 2004

  35. ขอขอบคุณทุกท่าน

  36. การพัฒนา SRRT ตำบล เข้าใจหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์และทำงานกับเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อแจ้งข่าวเหตุการณ์ผิดปกติ รู้จักชนิดของเหตุการณ์ผิดปกติทางด้านสาธารณสุข สามารถตรวจสอบข่าวเบื้องต้นที่ได้รับแจ้งจากแหล่งข่าวและ ดำเนินการตอบสนองได้เหมาะสม มีทักษะการทำงานจริงในการควบคุมโรค

  37. เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT: Surveillance and Rapid Response Team) Central ทั่วประเทศไทย1,030 ทีม Region C-SRRT 68 ทีมในกรุงเทพ Province 2000 ทีมใน 2554 District R-SRRT Sub- district Village P-SRRT D-SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข

  38. เป้าหมายในการพัฒนา SRRT ตำบล • มีศูนย์รับแจ้งข่าวที่ รพ.สต. • บุคลากรเข้าใจขั้นตอนทำงานระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ • มีการทำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างใกล้ชิดในพื้นที่ • รพ.สต. • อสม. • อบต./เทศบาล • หน่วยงานอื่นๆ เช่น ปศุสัตว์ตำบล ครู สื่อมวลชน

  39. ผลที่มุ่งหวัง ระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ที่ระดับตำบล เป็นระบบเสริมช่วยให้ตรวจพบการระบาดได้เร็วขึ้น ศูนย์รับแจ้งข่าวที่รพ.สต. รับแจ้งเหตุการณ์เกิดโรคในคน และเหตุการณ์ผิดปกติที่เกิดในสัตว์และสิ่งแวดล้อมที่อาจจะส่งผลต่อสุขภาพของคน หัวใจของความสำเร็จคือ ทุกเหตุการณ์ที่ได้รับแจ้งต้องมีการตอบสนอง คือ มีการตรวจสอบข่าวและควบคุมโรค

  40. ธรรมชาติการรายงานโรค ผู้ป่วยส่วนน้อยที่มารักษาที่ สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล ผู้ป่วยจำนวนมากที่อยู่ในชุมชน ไม่ได้มารักษาที่โรงพยาบาล หรือเป็นผู้ติดเชื้อไม่มีอาการ

  41. ระบบงาน SRRT อำเภอและเครือข่ายระดับตำบล สอบสวน ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น ตรวจสอบ แจ้งข่าว เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน

  42. เป้าหมายของการพัฒนาเครือข่ายSRRT ระดับตำบล 3 ร รู้เร็ว (และตรวจสอบ) รายงานเร็ว (แจ้งข่าว) ควบคุมเร็ว (จำกัดการะบาด)

  43. SRRT กรม คร. & เขต SRRT จังหวัด SRRT อำเภอ SRRT ตำบล ระบบป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ขยายกลไก สธ. ในการควบคุมโรค • กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรฐาน • สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ • กำกับ ประเมินผล • บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สธ คร. สคร สสจ รพท/รพศ สสอ รพช รพสต • สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ • กำกับ ประเมินผล • ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค โครงการอำเภอ ควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน • สนับสนุนปฏิบัติการ • ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค • ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น กิจกรรม และพฤติกรรม ป้องกัน ควบคุมโรค ในชุมชน อปท 44 44 WHO, FAO, OIE, and other international partners ASEAN, APEC, ACMECS and other Regional forums

More Related