260 likes | 589 Views
การใช้ Visual control ในการจัด stock สารละลาย. โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU. ความเป็นมา. หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU มีการใช้สารละลาย ชนิดต่าง ๆ 22 ชนิด เป้าประสงค์การ STOCK เพื่อให้มีสารละลายเพียงพอต่อการใช้
E N D
การใช้ Visual control ในการจัด stock สารละลาย โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
ความเป็นมา • หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU มีการใช้สารละลาย ชนิดต่าง ๆ 22 ชนิด • เป้าประสงค์การ STOCK เพื่อให้มีสารละลายเพียงพอต่อการใช้ ในวันธรรมดาและวันหยุดราชการ
วิธีการเบิก: ใช้การตรวจนับจำนวนสารละลายที่เหลือบนชั้นวาง แล้วเบิกเพิ่มให้เต็มชั้นวาง ขั้นตอนเดิม
วิธีจัดเก็บ: 1. เลื่อนสารละลายที่เหลือมาด้านหน้า 2. นำสารละลายที่เบิกใหม่เก็บเข้าด้านหลังสุด ขั้นตอนเดิม
ปัญหาที่พบ • เบิกน้อยเกินไป • มากเกินความจำเป็น • ไม่จัดเก็บตามหลัก • first in first out มีการ Expire
ความเป็นมา • การตรวจประเมินกิจกรรม 5ส ณ สถานที่ปฏิบัติงานจริง โดยผู้เชี่ยวชาญจากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)วันที่ 3 กรกฎาคม 2550 คำถาม : stock สารละลายเท่าไร เหลือเท่าไร เมื่อไรที่ต้องเบิกเพิ่ม เสนอแนะ : ให้มี Visual control ในการจัดเบิกและจัดเก็บสารละลาย
ความเป็นมา • พัฒนาระบบ stock สารละลายขึ้นโดยมีแนวคิดหลัก • มี Stock ให้น้อยที่สุดแต่เพียงพอต่อการใช้ • ผู้ใช้สามารถหยิบตามระบบ First in -First out ได้สะดวก • ผู้เบิกต้องเก็บสารละลายระบบ First in -First out ได้สะดวก • ไม่มีสารละลายหมดอายุ
วัตถุประสงค์ • เพื่อให้มีสารละลายเพียงพอต่อการใช้ • ลดเวลาการตรวจนับในการเบิก และจัดเก็บ • เพื่อลดจำนวนสารละลายที่หมดอายุ (Expire)
ตัวชี้วัด • เวลาในการตรวจนับก่อนเบิกไม่เกิน 5 นาที • จำนวนสารละลายที่ไม่พอใช้ = 0 • สารละลายเกิน Stock = 0
วิธีการดำเนินการ • สำรวจปริมาณการใช้ จากข้อมูลการเบิกใช้สารละลายที่ผ่านมา • จัดทำจำนวน Stock
วิธีการดำเนินการ • จัดทำแผ่นตรวจสอบการใช้ ตัวอย่างการเก็บข้อมูลการเบิกใช้สารละลายแต่ละชนิด
วิธีการดำเนินการ • จัดทำตัวเลขลำดับตามขนาดและจำนวนขวดสารละลาย
ผู้ใช้: ให้หยิบจากเลข น้อยไปมาก วิธีการดำเนินการ(ต่อ) • แจ้งการดำเนินงานในที่ประชุม เรื่องการปรับระบบ
วิธีการดำเนินการ(ต่อ) • ผู้เบิก: • ดูจากตัวเลขที่ถูกใช้ไป
วิธีการดำเนินการ(ต่อ) • การจัดเก็บ: • เลื่อนสารละลายที่เหลือไปด้านซ้าย แล้วเติมสารละลายที่เบิก ใหม่เข้าทางด้านขวา
ผลการดำเนินการครั้งที่ 1 • ลดเวลาในการเขียนใบเบิกจาก 15 นาทีเหลือ 5 นาที เก่า : นับจำนวนที่เหลือก่อนเบิก ใหม่ : ดูตัวเลขตามจำนวนใช้
ผลการดำเนินการครั้งที่ 1 • ผู้ใช้: ไม่หยิบตามลำดับของตัวเลข • ผู้เบิก: ไม่ทราบว่าจะเบิกเพิ่มเมื่อเหลือเท่าไร ปัญหา
วิธีการดำเนินการครั้งที่ 2 • ทำเครื่องหมายบอกจุดเริ่มใช้ และจุดเบิกเพิ่มของ • สารละลายแต่ละชนิดตามปริมาณการใช้งานที่ผ่านมา จุดเบิกเพิ่ม จุดเริ่มใช้
วิธีการดำเนินการ • บันทึกปริมาณการเบิกและปัญหาที่พบ • จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้ สารละลาย
ลดจำนวน Stock สารละลาย สรุปผลการดำเนินงาน
สรุปผลการดำเนินงาน • เป็นระเบียบสวยงาม • สะดวก • ตรวจสอบได้
ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้สารละลายค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้สารละลาย ผลการดำเนินงาน
ประโยชน์ที่ได้รับ • ลดเวลาในการจัดเบิก-จัดเก็บสารละลาย • มีสารละลายเพียงพอต่อปริมาณความต้องการในการใช้งาน • ไม่มีสารละลายที่หมดอายุ • ลดต้นทุนในการ stock สารละลาย
ชื่อผู้สร้างสรรค์ 1. คุณรัชนก พรหมจันทร์ หัวหน้าโครงการ 2. คุณอุไรวรรณ พลจร สมาชิก และที่ปรึกษา 3. คุณสุคนธ์ สุขเกษม สมาชิก 4. คุณพรทิพย์ ณ สุวรรณ สมาชิก 5. คุณชฏาพร บุญกาญจน์ สมาชิก 6. คุณนิภาพร เทิมแพงพันธ์ สมาชิก 7. คุณจำเนียร ยาสุภาพ สมาชิก ที่ปรึกษาโครงการ....คุณฉมาภรณ์ วรกุลและ คุณยุพิณ วัฒนสิทธิ์